ฟูจิวาระ โนะ โมตตสึเนะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
 
ฟูจิวาระ โนะ โมตตสึเนะ
ภาพวาดของโมตตสึเนะโดยคิกุชิ โยไซ
ยุคยุคเฮอัง
เกิดค.ศ. 836
ถึงแก่กรรม24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 891
ตำแหน่งขุนนางรองขั้น 1, ขุนนางหลักขั้น 1, ไดโจไดจิง, เซ็ชโช, คัมปากุ
จักรพรรดิมนโตะกุเซวะโยเซโคโกอูดะ
ตระกูลฟูจิวาระ
บิดามารดาบิดา : ฟุจิวะระ โนะ นะงะระ
บิดาบุญธรรม : ฟุจิวะระ โนะ โยะชิฟุซะ
บุตรโทกิฮิระ
ทาดาฮิระ
ฟุจิวะระ โนะ องชิ (จักรพรรดิไดโงะ)
ฟุจิวะระ โนะ องชิ (จักรพรรดิอุดะ)

ฟูจิวาระ โนะ โมตตสึเนะ (ญี่ปุ่น: 藤原 基経โรมาจิFujiwara no Mototsune; 836 – 24 กุมภาพันธ์ 891) รู้จักกันในชื่อ โฮริกาวะ ไดจิง (ญี่ปุ่น: 堀川大臣โรมาจิHorikawa Daijin) เป็นรัฐบุรุษ ข้าราชสำนักและขุนนางชาวญี่ปุ่นในช่วงต้นยุคเฮอัง[1]

ชีวประวัติ[แก้]

เมื่อตอนที่เกิดเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของฟูจิวาระ โนะ นางาระ แต่ได้ถูกยกเป็นบุตรบุญธรรมของอาผู้ทรงอำนาจทางการเมืองอย่างฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะที่ไร้ทายาท ซึ่งโมตตสึเนะได้เดินตามรอยโยชิฟูซะในการเข้ามามีอำนาจในราชสำนักและได้เป็นผู้สำเร็จราชการในจักรพรรดิถึง 3 พระองค์

อาชีพ[แก้]

  • 864 (โจงังที่ 6): โมตตสึเนะได้รับการแต่งตั้งเป็นซังงิ
  • 866 (โจงังที่ 8): ชูนางง
  • 870 (โจงังที่ 12, เดือน 1): ได้รับตำแหน่งไดนางง[2]
  • 872 (โจงังที่ 14): ได้รับตำแหน่งอูไดจิง[1]
  • 876 (โจงังที่ 18): ได้รับตำแหน่งเซ็ชโช[1]
  • 880 (กังเกียวที่ 4): ได้รับตำแหน่งไดโจไดจิง[1]
  • 884 (กังเกียวที่ 8): โมตตสึเนะเป็นบุคคลแรกที่ได้รับตำแหน่ง คัมปากุ.[1]
  • 890 (คัมเปียวที่ 2, วันที่ 14 เดือน 12): เกษียณจากตำแหน่งคัมปากุ
  • 25 กุมาพันธ์ ค.ศ. 891 (คัมเปียวที่ 3, วันที่ 13 เดือน 1): เสียชีวิตตอนอายุ 56 ปี[3]

พงศาวลี[แก้]

เขาอยู่ในตระกูลฟูจิวาระ โดยเแ็นบุตรของฟูจิวาระ โนะ นางาระ ผู้เป็นหนึ่งในบรรดาพี่น้องฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะ โมตตสึเนะได้รับเลี้ยงเป็นบุตรและผู้สืบทอดของโยชิฟูซะ[4] หรือกล่าวในอีกรูปแบบคือ โยชิฟูซะเป็นลุงของโมตตสึเนะ และเป็นบิดาผ่านการรับเลี้ยงเป็นบุตร[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Fujiwara no Mototsune" in Japan Encyclopedia, p. 206, p. 206, ที่ Google Books; Brinkley, Frank et al. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era, p. 203., p. 203, ที่ Google Books
  2. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, p. 119., p. 119, ที่ Google Books; see "Fousiwara-no Moto tsoune", pre-Hepburn romanization
  3. Titsingh, p. 127., p. 127, ที่ Google Books
  4. Brinkley, p. 237., p. 237, ที่ Google Books
  5. "Yoshifusa Mototsune", in Encyclopædia Britannica; retrieved 2011-07-24

ข้อมูล[แก้]

  • Brinkley, Frank and Kikuchi Dairoku. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era. New York: Encyclopædia Britannica. OCLC 413099
  • Hioki, S. (1990). Nihon Keifu Sōran. Kōdansya. (Japanese)
  • Kasai, M. (1991). Kugyō Bunin Nenpyō. Yamakawa Shuppan-sha (Japanese)
  • Kodama, K. (1978). Nihon-shi Shō-jiten, Tennō. Kondō Shuppan-sha. (Japanese)
  • Nussbaum, Louis-Frédéric and Käthe Roth. (2005). Japan encyclopedia. Cambridge: Harvard University Press. ISBN 978-0-674-01753-5; OCLC 58053128
  • Owada, T. et al. (2003). Nihonshi Shoka Keizu Jinmei Jiten. Kōdansya. (Japanese)
  • Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Ōdai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691