ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2023

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2023
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ไทย 2023
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่17 - 26 สิงหาคม
ทีม11
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ เวียดนาม (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศ อินโดนีเซีย
อันดับที่ 3 ไทย
อันดับที่ 4 มาเลเซีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู47 (2.94 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม14,925 (933 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดมาเลเซีย Alif Ikmalrizal
เวียดนาม Đinh Xuân Tiến
(3 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอินโดนีเซีย Arkhan Fikri
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเวียดนาม Quan Văn Chuẩn
2022
2025

การแข่งขัน ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2023, หรือชื่ออย่างเป็นทางการ 2023 เอเอฟเอฟ ยู-23 ยูธแชมเปียนชิป เป็นครั้งที่ 4 ของฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ซึ่งจัดขึ้นโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (เอเอฟเอฟ) ทัวร์นาเมนต์นี้จะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 17 ถึง 26 สิงหาคม ในระยอง ประเทศไทย.[1]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ทัวร์นาเมนต์นี้จะไม่มีการคัดเลือก และทีมที่เข้าร่วมทั้งหมดจะได้ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่ม ทีมต่อไปนี้คือทีมชาติสมาชิกของเอเอฟเอฟที่มีสิทธิเข้าสู่ทัวร์นาเมนต์ (ยกเว้น ออสเตรเลีย):

ทีม สมาคม ครั้งที่เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 บรูไน เอฟเอ บรูไน ดารุสซาลาม ครั้งที่ 2 รอบแบ่งกลุ่ม (2022)
 กัมพูชา เอฟเอฟ กัมพูชา ครั้งที่ 4 อันดับที่ 4 (2019)
 อินโดนีเซีย เอฟเอ อินโดนีเซีย ครั้งที่ 2 แชมป์ (2019)
 ลาว ลาว เอฟเอฟ ครั้งที่ 3 อันดับที่ 3 (2022)
 มาเลเซีย เอฟเอ มาเลเซีย ครั้งที่ 4 อันดับที่ 4 (2005)
 พม่า เมียนมาร์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 3 อันดับที่ 3 (2005)
 ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 4 รอบแบ่งกลุ่ม (2005, 2019, 2022)
 ไทย เอฟเอ ไทยแลนด์ ครั้งที่ 3 แชมป์ (2005)
 ติมอร์-เลสเต เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต ครั้งที่ 4 อันดับที่ 3 (2022)
 เวียดนาม เวียดนาม เอฟเอฟ ครั้งที่ 3 แชมป์ (2022)
ไม่ได้เข้าร่วม
 ออสเตรเลีย
 สิงคโปร์

การจับสลาก[แก้]

พิธีการจับสลากสำหรับฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2023 ได้จัดขึ้นในวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ใน กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย และได้ และได้ถ่ายทอดสดออนไลน์อย่างเป็นทางการของช่อง ยูทูบ.[2][3] ทีมวางขึ้นอยู่กับผลงานจากทัวร์นาเมนต์ที่ผ่านมา.

โถ 1 โถ 2 โถ 3

ผู้เล่น[แก้]

รายชื่อผู้เล่นสุดท้ายของผู้เล่น 23 คน (สามคนในนั้นจะต้องเป็น ผู้รักษาประตู) จะต้องลงทะเบียนหนึ่งวันก่อนการแข่งขันนัดแรกของทัวร์นาเมนต์.

คณะผู้ตัดสิน[แก้]

  • บรูไน Abdul Hakim Mohd Haidi
  • เวียดนาม Ngô Duy Lân
  • ลาว Souei Vongkham
  • มาเลเซีย Muhammad Usaid Jamal
  • เกาหลีใต้ Choi Hyun-jai
  • ไทย สงกรานต์ บุญมีเกียรติ
  • ไทย ต่อพงษ์ สมสิงห์
  • ญี่ปุ่น Hiroki Kasahara

สนามแข่งขัน[แก้]

ระยอง
พีทีทีสเตเดียม สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง
ความจุ: 12,000 ความจุ: 7,500

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ไทย (H) 3 3 0 0 8 0 +8 9 รอบแพ้คัดออก
2  กัมพูชา 3 1 1 1 6 3 +3 4
3  พม่า 3 1 1 1 5 5 0 4
4  บรูไน 3 0 0 3 1 12 −11 0
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) เฮด-ทู-เฮด; 3) ผลต่างประตู; 4) ประตูที่ทำได้; 5) การยิงลูกโทษ; 6) คะแนนทางวินัย; 7) จำนวนนัดที่เสมอ.
(H) เจ้าภาพ.
กัมพูชา 5–0 บรูไน
รายงาน
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: Ngô Duy Lân (เวียดนาม)
ไทย 3–0 พม่า
รายงาน
ผู้ชม: 2,512 คน
ผู้ตัดสิน: Choi Hyun-jai (เกาหลีใต้)

พม่า 1–1 กัมพูชา
รายงาน
ผู้ชม: 126 คน
ผู้ตัดสิน: Muhammad Usaid Jamal (มาเลเซีย)
บรูไน 0–3 ไทย
รายงาน
ผู้ชม: 2,350 คน
ผู้ตัดสิน: Souei Vongkham (ลาว)

ไทย 2–0 กัมพูชา
รายงาน
ผู้ชม: 2,070 คน
ผู้ตัดสิน: Ngô Duy Lân (เวียดนาม)
บรูไน 1–4 พม่า
รายงาน
ผู้ชม: 68 คน
ผู้ตัดสิน: Muhammad Usaid Jamal (มาเลเซีย)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  มาเลเซีย 2 2 0 0 5 2 +3 6 รอบแพ้คัดออก
2  อินโดนีเซีย 2 1 0 1 2 2 0 3
3  ติมอร์-เลสเต 2 0 0 2 1 4 −3 0
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) เฮด-ทู-เฮด; 3) ผลต่างประตู; 4) ประตูที่ทำได้; 5) การยิงลูกโทษ; 6) คะแนนทางวินัย; 7) จำนวนนัดที่เสมอ.
มาเลเซีย 2–1 อินโดนีเซีย
รายงาน
ผู้ชม: 700 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroki Kasahara (ญี่ปุ่น)
อินโดนีเซีย 1–0 ติมอร์-เลสเต
รายงาน
ผู้ชม: 253 คน
ผู้ตัดสิน: ต่อพงษ์ สมสิงห์ (ไทย)
ติมอร์-เลสเต 1–3 มาเลเซีย
รายงาน
ผู้ชม: 56 คน
ผู้ตัดสิน: Abdul Hakim Mohd Haidi (บรูไน)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เวียดนาม 2 2 0 0 5 1 +4 6 รอบแพ้คัดออก
2  ฟิลิปปินส์ 2 0 1 1 2 3 −1 1
3  ลาว 2 0 1 1 3 6 −3 1
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) เฮด-ทู-เฮด; 3) ผลต่างประตู; 4) ประตูที่ทำได้; 5) การยิงลูกโทษ; 6) คะแนนทางวินัย; 7) จำนวนนัดที่เสมอ.
ฟิลิปปินส์ 2–2 ลาว
รายงาน
ผู้ชม: 77 คน
ผู้ตัดสิน: สงกรานต์ บุญมีเกียรติ (ไทย)
ลาว 1–4 เวียดนาม
รายงาน
ผู้ชม: 181 คน
ผู้ตัดสิน: Abdul Hakim Mohd Haidi (บรูไน)
เวียดนาม 1–0 ฟิลิปปินส์
รายงาน
ผู้ชม: 607 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroki Kasahara (ญี่ปุ่น)

ตารางคะแนนของทีมอันดับที่สอง[แก้]

ทีมอันดับที่สองหนึ่งทีมเท่านั้นจะได้ผ่านเข้ารอบสำหรับรอบรองชนะเลิศ.

ผลการแข่งขันที่พบกับทีมอันดับที่สี่ในกลุ่ม เอ จะไม่ได้รับการพิจารณาสำหรับการจัดอันดับนี้.

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 บี  อินโดนีเซีย 2 1 0 1 2 2 0 3 รอบแพ้คัดออก
2 ซี  ฟิลิปปินส์ 2 0 1 1 2 3 −1 1
3 เอ  กัมพูชา 2 0 1 1 1 3 −2 1
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 4) คะแนนทางวินัย; 5) จำนวนนัดที่เสมอ.

รอบแพ้คัดออก[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, การดวลลูกโทษ เป็นวิธีที่ใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น.

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
24 สิงหาคม – ระยอง
 
 
 มาเลเซีย 1
 
26 สิงหาคม – ระยอง
 
 เวียดนาม 4
 
 เวียดนาม
(ลูกโทษ)
0 (6)
 
24 สิงหาคม – ระยอง
 
 อินโดนีเซีย 0 (5)
 
 ไทย 1
 
 
 อินโดนีเซีย 3
 
นัดชิงอันดับที่ 3
 
 
26 สิงหาคม – ระยอง
 
 
 มาเลเซีย 0 (3)
 
 
 ไทย
(ลูกโทษ)
0 (4)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

มาเลเซีย 1–4 เวียดนาม
รายงาน
ไทย 1–3 อินโดนีเซีย
รายงาน
ผู้ชม: 3,214 คน
ผู้ตัดสิน: Hiroki Kasahara (ญี่ปุ่น)

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สถิติ[แก้]

ชนะเลิศ[แก้]

 ชนะเลิศฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2023 

เวียดนาม
สมัยที่ 2

รางวัล[แก้]

ผู้เล่นทรงคุณค่า รางวัลดาวซัลโวสูงสุด รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม
อินโดนีเซีย Arkhan Fikri มาเลเซีย Alif Ikmalrizal
เวียดนาม Đinh Xuân Tiến
เวียดนาม Quan Văn Chuẩn

ทีมประจำทัวร์นาเมนต์[แก้]

ผู้รักษาประตู กองหลัง กองกลาง กองหน้า
เวียดนาม Quan Văn Chuẩn

ผู้ทำประตู[แก้]

มีการทำประตู 47 ประตู จากการแข่งขัน 16 นัด เฉลี่ย 2.94 ประตูต่อนัด


การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

สรุปตารางการแข่งขัน[แก้]

ตารางนี้จะแสดงอันดับของแต่ละทีมตลอดทัวร์นาเมนต์.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน สรุปผลงาน
1  เวียดนาม 4 3 1 0 9 2 +7 10 แชมเปียนส์
2  อินโดนีเซีย 4 2 1 1 5 3 +2 7 รองชนะเลิศ
3  ไทย (H) 5 3 1 1 9 3 +6 10 อันดับที่ 3
4  มาเลเซีย 4 2 1 1 6 6 0 7 อันดับที่ 4
5  กัมพูชา 3 1 1 1 6 3 +3 4 ตกรอบในรอบแบ่งกลุ่ม
6  พม่า 3 1 1 1 5 5 0 4
7  ฟิลิปปินส์ 2 0 1 1 2 3 −1 1
8  ลาว 2 0 1 1 3 6 −3 1
9  ติมอร์-เลสเต 2 0 0 2 1 4 −3 0
10  บรูไน 3 0 0 3 1 12 −11 0
แหล่งที่มา : รอบแบ่งกลุ่ม, รอบแพ้คัดออก
(H) เจ้าภาพ.

ลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด[แก้]

ประเทศ เครือข่ายถ่ายทอดสด สถานีโทรทัศน์ ออนไลน์
 บรูไน RTB RTB Aneka RTBGo
 กัมพูชา Bayon TV BTV News BTV News TV (ยูทูบ), BTV Cambodia, BTV Sports (เฟซบุ๊ก)
SCM SCTV, Nex Parabola Vidio
 มาเลเซีย RTM Sukan RTM
 ไทย ทรูวิชันส์ ทรู สปอร์ตส์ 2, ทรู สปอร์ตส์ 3 ทรูสปอร์ต นาว, ทรูไอดี
 เวียดนาม SCTV, VTV SCTV15, SCTV17, VTV5 Tây Nam Bộ, VTV Cần Thơ SCTV Online, Mytv, TV360, FPT Play

บันทึก[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Thailand to host AFF U23 Championship 2023 in August". ASEAN Football Federation. 29 May 2023.
  2. "Football: Vietnam in Group C at AFF U23 Championship 2023". Vietnam Plus. 29 May 2023.
  3. "RESMI: Hasil Drawing Piala AFF U-23 2023 - Timnas Indonesia Satu Grup Dengan Malaysia". Goal. 29 May 2023.

หมายเหตุ[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]