ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำอิรวดี"

พิกัด: 15°51′19″N 95°14′27″E / 15.85528°N 95.24083°E / 15.85528; 95.24083
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| แม่น้ำ
| แม่น้ำ
<!-- *** Name section *** -->
<!-- *** Name section *** -->
| name = แม่น้ำอิรวดี<br><small>ဧရာဝတီမြစ်</small>
| name = แม่น้ำอิรวดี
| image = Irrawaddy-River-Myanmar-Burma-2005.jpg
| image = Irrawaddy-River-Myanmar-Burma-2005.jpg
| image_size =
| image_size =
| image_caption = มุมมองจากฟ้าของแม่น้ำอิรวดี
| image_caption = ภาพถ่ายทางอากาศของแม่น้ำอิรวดี
| country = พม่า
| country = พม่า
| state =
| state =
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| district =
| district =
| district1 =
| district1 =
| city = [[มิตจีนา]]
| city = [[มยิจีนา]]
| city1 = [[มัณฑะเลย์]]
| city1 = [[มัณฑะเลย์]]
| city2 = [[พะโม]]
| city2 = [[บะมอ]]
<!-- *** Geography *** -->
<!-- *** Geography *** -->
| length = 2210
| length = 2210
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
|source_long_s = 0
|source_long_s = 0
|source_long_EW = E
|source_long_EW = E
|source1_name = [[แม่น้ำเมขา]]
|source1_name = [[แม่น้ำเมคะ]]
|source1_lat_d = 28
|source1_lat_d = 28
|source1_lat_m = 4
|source1_lat_m = 4
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
|source1_long_s = 0
|source1_long_s = 0
|source1_long_EW = E
|source1_long_EW = E
| source_confluence_location =ดำเพชร
| source_confluence_location = ดานเพะ
| source_confluence_district =
| source_confluence_district =
| source_confluence_region =
| source_confluence_region =
| source_confluence_state = [[รัฐกะฉิ่น]]
| source_confluence_state = [[รัฐกะชีน]]
| source_confluence_country =
| source_confluence_country =
| source_confluence_lat_d = 25
| source_confluence_lat_d = 25
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
<!-- *** Mouth *** -->
<!-- *** Mouth *** -->
| mouth_name = [[ทะเลอันดามัน]]
| mouth_name = [[ทะเลอันดามัน]]
| mouth_location = อเล-ยวา
| mouth_location = อะเล-ยวา
| mouth_district =
| mouth_district =
| mouth_region =
| mouth_region =
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
| mouth_long_EW = E
| mouth_long_EW = E
<!-- *** Tributaries *** -->
<!-- *** Tributaries *** -->
| tributary_left = แม่น้ำชินดวิน
| tributary_left = แม่น้ำชี่น-ดวี่น
| tributary_left1 = แม่น้ำมู
| tributary_left1 = แม่น้ำมู่
| tributary_right = แม่น้ำมยิตเง
| tributary_right = แม่น้ำมยิแง
| tributary_right1 =
| tributary_right1 =
<!-- *** Free fields *** -->
<!-- *** Free fields *** -->
บรรทัด 87: บรรทัด 87:
}}
}}


'''แม่น้ำอิรวดี''' ({{MYname|MY=ဧရာဝတီမြစ်|MLCTS=erawa.ti mrac}}, {{IPA-my|ʔèjàwədì mjɪʔ|pron}}, ออกเสียง ''เอยาวะดี'') เป็นแม่น้ำที่ไหลจากเหนือจรดใต้ผ่านประเทศพม่า เป็นแม่น้ำที่ใหญ่สุดในประเทศและเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญที่สุด ชื่ออิรวดีในพม่ามาจาก [[ภาษาบาลี]] ''Irāvatī''<ref>{{cite web|url=http://www.myanmar.gov.mm/Perspective/persp1999/2-99/aye.htm|title=Irrawaddy etymology|work=myanmar.gov.mm|accessdate=17 January 2017}}</ref> ''Airavati'' ''Erāvatī'' เป็นชื่อบาลีของ[[ช้างเอราวัณ]]พาหนะของ[[พระอินทร์]] ช้างมักถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับน้ำ<ref>[http://www.csuchico.edu/~cheinz/syllabi/asst001/spring99/Karmegam/symbol.html California State University, Chico – The Symbolism of Elephants in Indian Culture] retrieved 13 July 2009</ref> และถูกนำมาใช้เป็นชื่อของแม่น้ำอื่น ๆ ในหลายภูมิภาคเช่น แม่น้ำอจิรวดี ในอินเดีย
'''แม่น้ำอิรวดี''' ({{MYname|MY=ဧရာဝတီမြစ်|MLCTS=erawa.ti mrac}}, {{IPA-my|ʔèjàwədì mjɪʔ|pron}}, ออกเสียง ''เอยาวะดี'') เป็นแม่น้ำที่ไหลจากเหนือจรดใต้ผ่านประเทศพม่า เป็นแม่น้ำที่ใหญ่สุดในประเทศและเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญที่สุด ชื่ออิรวดีในพม่ามาจาก[[ภาษาบาลี]] ''Irāvatī''<ref>{{cite web|url=http://www.myanmar.gov.mm/Perspective/persp1999/2-99/aye.htm|title=Irrawaddy etymology|work=myanmar.gov.mm|accessdate=17 January 2017}}</ref> ''Airavati'' ''Erāvatī'' เป็นชื่อบาลีของ[[ช้างเอราวัณ]]พาหนะของ[[พระอินทร์]] ช้างมักถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับน้ำ<ref>[http://www.csuchico.edu/~cheinz/syllabi/asst001/spring99/Karmegam/symbol.html California State University, Chico – The Symbolism of Elephants in Indian Culture] retrieved 13 July 2009</ref> และถูกนำมาใช้เป็นชื่อของแม่น้ำอื่น ๆ ในหลายภูมิภาคเช่น แม่น้ำอจิรวดี ในอินเดีย


แม่น้ำอิรวดีมีต้นกำเนิดจากจุดบรรจบกันของ [[แม่น้ำมะลิขา]] และ [[แม่น้ำเมขา]] ที่ไหลลงมาจากธารน้ำแข็งบริเวณเทือกเขาหิมาลัยทางตอนเหนือของ[[ปูตาโอ]]ในพม่าตอนบน แม่น้ำค่อนข้างไหลเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี และไหลลงสู่[[ทะเลอันดามัน]] แม่น้ำอิรวดีมีพื้นที่ลุ่มน้ำ 404,200 ตารางกิโลเมตร (156,026 ตารางไมล์) ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพม่า นักกวีชาวอังกฤษ [[รัดยาร์ด คิปลิง]] มีการบรรยายถึงแม่น้ำอิรวดีในบทกวีที่เขาแต่งเรื่อง '[[ถนนสู่มัณฑะเลย์]]'
แม่น้ำอิรวดีมีต้นกำเนิดจากจุดบรรจบกันของ[[แม่น้ำเมลิคะ]]และ[[แม่น้ำเมคะ]] ที่ไหลลงมาจากธารน้ำแข็งบริเวณเทือกเขาหิมาลัยทางตอนเหนือของ[[ปูดาโอ]]ในพม่าตอนบน แม่น้ำค่อนข้างไหลเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี และไหลลงสู่[[ทะเลอันดามัน]] แม่น้ำอิรวดีมีพื้นที่ลุ่มน้ำ 404,200 ตารางกิโลเมตร (156,026 ตารางไมล์) ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพม่า หลังจากที่[[รัดยาร์ด คิปลิง]] กวีชาวอังกฤษได้กล่าวถึงแม่น้ำอิรวดีในบทกวีของเขา บางครั้งแม่น้ำสายนี้ก็ถูกเรียกว่า "[[ถนนสู่มัณฑะเลย์]]"


กว่าหก[[ศตวรรษ]]ที่แม่น้ำถูกใช้สำหรับการค้าขายและการขนส่ง แม่น้ำมีความสำคัญต่อ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]หลังได้พม่าเข้ามาอยู่ในอาณานิคมได้มีการพัฒนาเครือข่ายคลอง[[ชลประทาน]] แม่น้ำยังคงมีความสำคัญในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางการจราจรและเป็นเส้นทางของสินค้าส่งออกจำนวนมาก ข้าวมีการผลิตในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดีซึ่งมีการใช้น้ำจากแม่น้ำ
กว่าหก[[ศตวรรษ]]ที่แม่น้ำถูกใช้สำหรับการค้าขายและการขนส่ง แม่น้ำมีความสำคัญต่อ[[จักรวรรดิอังกฤษ]]หลังได้พม่าเข้ามาอยู่ในอาณานิคมได้มีการพัฒนาเครือข่ายคลอง[[ชลประทาน]] แม่น้ำยังคงมีความสำคัญในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางการจราจรและเป็นเส้นทางของสินค้าส่งออกจำนวนมาก ข้าวมีการผลิตในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดีซึ่งมีการใช้น้ำจากแม่น้ำ


ในปีพ.ศ. 2550 รัฐบาลพม่าได้ลงนามในข้อตกลงกับบริษัทสัญชาติจีนในการก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำจำนวนเจ็ดเขื่อน ซึ่งมีกำลังผลิตรวม 13,360 เมกะวัตต์ในแม่น้ำมะลิขา และ แม่น้ำเมขา รวมถึงเขื่อน มยิตโซน เขื่อนใหญ่ขนาด 6,000 เมกะวัตต์ บริเวณที่บรรจบกันของแม่น้ำทั้งสองแห่ง กำลังไฟฟ้าที่เกิดจากเขื่อนจะถูกส่งไปยังประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่โดยส่วนใหญ่จะถูกส่งไปยังประเทศจีน<ref>[http://www.burmalibrary.org/docs5/China_in_Burma-ERI.pdf ''China in Burma: The Increasing Investment of Chinese Multinational Corporations in Burma's Hydropower, Oil and Natural Gas and Mining Sectors''] (2008) [http://www.earthrights.org/ EarthRights International]. Retrieved 17 September 2009</ref> และมีเป้าหมายการส่งออกพลังงานไปยัง ประเทศไทย, อินเดีย และ บังคลาเทศ องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมได้ยกความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อระบบนิเวศบนความหลากหลายทางชีวภาพของแม่น้ำ สัตว์ที่อาจได้รับผลกระทบได้แก่ [[โลมาอิรวดี]] และปลาฉลามในแม่น้ำอิรวดี ซึ่งเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ ปัจจุบันโครงการเขื่อนใหญ่ มยิตโซน ถูกระงับไว้เนื่องจากมีการประท้วงและผู้ไม่เห็นด้วยจำนวนมาก<ref>[http://www.nationtv.tv/main/content/foreign/378542209/ จีนยอมระงับเขื่อนในเมียนมาร์]</ref><ref>http://www.bangkokpost.com/news/special-reports/1180397/against-the-flow</ref>
ในปีพ.ศ. 2550 รัฐบาลพม่าได้ลงนามในข้อตกลงกับบริษัทสัญชาติจีนในการก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำจำนวนเจ็ดเขื่อน ซึ่งมีกำลังผลิตรวม 13,360 เมกะวัตต์ในแม่น้ำเมลิคะและแม่น้เมคะ รวมถึงเขื่อน มยิตโซน เขื่อนใหญ่ขนาด 6,000 เมกะวัตต์ บริเวณที่บรรจบกันของแม่น้ำทั้งสองแห่ง กำลังไฟฟ้าที่เกิดจากเขื่อนจะถูกส่งไปยังประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่โดยส่วนใหญ่จะถูกส่งไปยังประเทศจีน<ref>[http://www.burmalibrary.org/docs5/China_in_Burma-ERI.pdf ''China in Burma: The Increasing Investment of Chinese Multinational Corporations in Burma's Hydropower, Oil and Natural Gas and Mining Sectors''] (2008) [http://www.earthrights.org/ EarthRights International]. Retrieved 17 September 2009</ref> และมีเป้าหมายการส่งออกพลังงานไปยังประเทศไทย อินเดีย และบังdลาเทศ องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมได้ยกความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อระบบนิเวศบนความหลากหลายทางชีวภาพของแม่น้ำ สัตว์ที่อาจได้รับผลกระทบได้แก่ [[โลมาอิรวดี]] และปลาฉลามในแม่น้ำอิรวดี ซึ่งเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ ปัจจุบันโครงการเขื่อนมยิโซนถูกระงับไว้เนื่องจากมีการประท้วงและผู้ไม่เห็นด้วยจำนวนมาก<ref>[http://www.nationtv.tv/main/content/foreign/378542209/ จีนยอมระงับเขื่อนในเมียนมาร์]</ref><ref>http://www.bangkokpost.com/news/special-reports/1180397/against-the-flow</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:23, 9 กุมภาพันธ์ 2562

15°51′19″N 95°14′27″E / 15.85528°N 95.24083°E / 15.85528; 95.24083
แม่น้ำอิรวดี
แม่น้ำ
ภาพถ่ายทางอากาศของแม่น้ำอิรวดี
ประเทศ พม่า
แม่น้ำสาขา
 - ซ้าย แม่น้ำชี่น-ดวี่น, แม่น้ำมู่
 - ขวา แม่น้ำมยิแง
เมือง มยิจีนา, มัณฑะเลย์, บะมอ
ต้นกำเนิด แม่น้ำมะลิขา[1]
 - พิกัด 28°22′0″N 97°23′0″E / 28.36667°N 97.38333°E / 28.36667; 97.38333
ต้นกำเนิด แม่น้ำเมคะ
 - พิกัด 28°4′0″N 98°8′0″E / 28.06667°N 98.13333°E / 28.06667; 98.13333
จุดบรรจบ
 - ตำแหน่ง ดานเพะ, รัฐกะชีน
 - พิกัด 25°42′0″N 97°30′0″E / 25.70000°N 97.50000°E / 25.70000; 97.50000
ปากแม่น้ำ ทะเลอันดามัน
 - ตำแหน่ง อะเล-ยวา, เขตอิรวดี, พม่า
 - พิกัด 15°51′19″N 95°14′27″E / 15.85528°N 95.24083°E / 15.85528; 95.24083
ความยาว 2,210 km (1,373 mi)
พื้นที่ลุ่มน้ำ 404,200 ตร.กม. (156,062 ตร.ไมล์)
การไหล
 - เฉลี่ย 13,000 m3/s (459,091 cu ft/s)
 - สูงสุด 32,600 m3/s (1,151,258 cu ft/s)
 - ต่ำสุด 2,300 m3/s (81,224 cu ft/s)
ระบบแม่น้ำอิรวดี
ระบบแม่น้ำอิรวดี
ระบบแม่น้ำอิรวดี

แม่น้ำอิรวดี (พม่า: ဧရာဝတီမြစ်, เอ็มแอลซีทีเอส: erawa.ti mrac, ออกเสียง: [ʔèjàwədì mjɪʔ], ออกเสียง เอยาวะดี) เป็นแม่น้ำที่ไหลจากเหนือจรดใต้ผ่านประเทศพม่า เป็นแม่น้ำที่ใหญ่สุดในประเทศและเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญที่สุด ชื่ออิรวดีในพม่ามาจากภาษาบาลี Irāvatī[2] Airavati Erāvatī เป็นชื่อบาลีของช้างเอราวัณพาหนะของพระอินทร์ ช้างมักถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับน้ำ[3] และถูกนำมาใช้เป็นชื่อของแม่น้ำอื่น ๆ ในหลายภูมิภาคเช่น แม่น้ำอจิรวดี ในอินเดีย

แม่น้ำอิรวดีมีต้นกำเนิดจากจุดบรรจบกันของแม่น้ำเมลิคะและแม่น้ำเมคะ ที่ไหลลงมาจากธารน้ำแข็งบริเวณเทือกเขาหิมาลัยทางตอนเหนือของปูดาโอในพม่าตอนบน แม่น้ำค่อนข้างไหลเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี และไหลลงสู่ทะเลอันดามัน แม่น้ำอิรวดีมีพื้นที่ลุ่มน้ำ 404,200 ตารางกิโลเมตร (156,026 ตารางไมล์) ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพม่า หลังจากที่รัดยาร์ด คิปลิง กวีชาวอังกฤษได้กล่าวถึงแม่น้ำอิรวดีในบทกวีของเขา บางครั้งแม่น้ำสายนี้ก็ถูกเรียกว่า "ถนนสู่มัณฑะเลย์"

กว่าหกศตวรรษที่แม่น้ำถูกใช้สำหรับการค้าขายและการขนส่ง แม่น้ำมีความสำคัญต่อจักรวรรดิอังกฤษหลังได้พม่าเข้ามาอยู่ในอาณานิคมได้มีการพัฒนาเครือข่ายคลองชลประทาน แม่น้ำยังคงมีความสำคัญในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางการจราจรและเป็นเส้นทางของสินค้าส่งออกจำนวนมาก ข้าวมีการผลิตในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดีซึ่งมีการใช้น้ำจากแม่น้ำ

ในปีพ.ศ. 2550 รัฐบาลพม่าได้ลงนามในข้อตกลงกับบริษัทสัญชาติจีนในการก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำจำนวนเจ็ดเขื่อน ซึ่งมีกำลังผลิตรวม 13,360 เมกะวัตต์ในแม่น้ำเมลิคะและแม่น้เมคะ รวมถึงเขื่อน มยิตโซน เขื่อนใหญ่ขนาด 6,000 เมกะวัตต์ บริเวณที่บรรจบกันของแม่น้ำทั้งสองแห่ง กำลังไฟฟ้าที่เกิดจากเขื่อนจะถูกส่งไปยังประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่โดยส่วนใหญ่จะถูกส่งไปยังประเทศจีน[4] และมีเป้าหมายการส่งออกพลังงานไปยังประเทศไทย อินเดีย และบังdลาเทศ องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมได้ยกความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่อระบบนิเวศบนความหลากหลายทางชีวภาพของแม่น้ำ สัตว์ที่อาจได้รับผลกระทบได้แก่ โลมาอิรวดี และปลาฉลามในแม่น้ำอิรวดี ซึ่งเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ ปัจจุบันโครงการเขื่อนมยิโซนถูกระงับไว้เนื่องจากมีการประท้วงและผู้ไม่เห็นด้วยจำนวนมาก[5][6]

อ้างอิง

  1. James R Penn (2001) Rivers of the World. Santa Barbara, Calif. [u.a.] ABC-Clio ISBN 1-57607-042-5, ISBN 978-1-57607-042-0. Page 115 paragraph 2, retrieved July 16, 2009
  2. "Irrawaddy etymology". myanmar.gov.mm. สืบค้นเมื่อ 17 January 2017.
  3. California State University, Chico – The Symbolism of Elephants in Indian Culture retrieved 13 July 2009
  4. China in Burma: The Increasing Investment of Chinese Multinational Corporations in Burma's Hydropower, Oil and Natural Gas and Mining Sectors (2008) EarthRights International. Retrieved 17 September 2009
  5. จีนยอมระงับเขื่อนในเมียนมาร์
  6. http://www.bangkokpost.com/news/special-reports/1180397/against-the-flow