ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Setawut (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
{{มุมมองสากล}}
[[ไฟล์:National Museum KL 2008 (36).JPG|200px|thumb|"[[ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง]]" ที่หัวเมือง[[มลายู]]ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม]]
[[ไฟล์:National Museum KL 2008 (36).JPG|200px|thumb|"[[ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง]]" ที่หัวเมือง[[มลายู]]ส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม]]
'''ประเทศราช''' หรือ '''รัฐบรรณาการ''' หมายถึง [[รัฐ]]ที่มี[[ประมุข]]เป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของ[[พระมหากษัตริย์]]อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราช<ref>ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ''ประวัติศาสตร์วิพากษ์ : สยามไทยกับปาตานี''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2556, หน้า 177</ref>ต้องส่งเครื่องราช[[บรรณาการ]]ถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 708</ref> มีลักษณะคล้าย[[รัฐในอารักขา]]ของ[[จักรวรรดินิยม]]ตะวันตก มีลักษณะคล้าย[[รัฐในอารักขา]]ของ[[จักรวรรดินิยม]]ตะวันตก
'''ประเทศราช''' หรือ '''รัฐบรรณาการ''' หมายถึง [[รัฐ]]ที่มี[[ประมุข]]เป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของ[[พระมหากษัตริย์]]อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราช<ref>ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ''ประวัติศาสตร์วิพากษ์ : สยามไทยกับปาตานี''. กรุงเทพฯ : มติชน, 2556, หน้า 177</ref>ต้องส่งเครื่องราช[[บรรณาการ]]ถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 708</ref> มีลักษณะคล้าย[[รัฐในอารักขา]]ของ[[จักรวรรดินิยม]]ตะวันตก


ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้[[ราชวงศ์หยวน]]ของจีน (พ.ศ. 1813–1899), [[กรุงศรีอยุธยา]]ภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), [[นครเชียงใหม่]]ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)
ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้[[ราชวงศ์หยวน]]ของจีน (พ.ศ. 1813–1899), [[กรุงศรีอยุธยา]]ภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), [[นครเชียงใหม่]]ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:13, 9 กันยายน 2561

"ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง" ที่หัวเมืองมลายูส่งมาเป็นเครื่องราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงสยาม

ประเทศราช หรือ รัฐบรรณาการ หมายถึง รัฐที่มีประมุขเป็นของตนเอง แต่อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลและคุ้มครองของพระมหากษัตริย์อีกรัฐหนึ่ง เจ้าผู้ครองนครประเทศราชหรือสามนตราช[1]ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการถวายเป็นประจำ และในยามศึกสงครามต้องส่งกองกำลังเข้าช่วยกองทัพหลวงด้วย[2] มีลักษณะคล้ายรัฐในอารักขาของจักรวรรดินิยมตะวันตก

ตัวอย่างของประเทศราชได้แก่ เกาหลีภายใต้ราชวงศ์หยวนของจีน (พ.ศ. 1813–1899), กรุงศรีอยุธยาภายใต้พม่า (พ.ศ. 2112–2127), กัมพูชาภายใต้สยาม (ค.ศ. 2337–2427), นครเชียงใหม่ภายใต้สยาม (พ.ศ. 2317–2437)

สยาม

ประเทศราชของสยาม แบ่งออกเป็น 3 ชั้น[3] ตามบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมือง ได้แก่

  1. พระเจ้าประเทศราช เช่น พระเจ้าดวงทิพย์ ผู้ครองนครลำปาง
  2. เจ้าพระยาประเทศราช เช่น เจ้าพระยาศรีธรรมาโศกราช
  3. พระยาประเทศราช เช่น พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) ผู้ครองนครเชียงใหม่

ศักดินา

ในราชอาณาจักรสยาม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้ตราพระราชบัญญัติศักดินาเจ้านายพระยาท้าวแสนประเทศราช[4] ดังนี้

เจ้าเมืองประเทศราช ศักดินา (ไร่) เทียบเท่า
พระเจ้าประเทศราช 15,000 เจ้าต่างกรม
เจ้าประเทศราช 10,000 ข้าหลวงเทศาภิบาล
พระยาประเทศราช 8,000 เจ้าพระยาวังหน้า

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. ประวัติศาสตร์วิพากษ์ : สยามไทยกับปาตานี. กรุงเทพฯ : มติชน, 2556, หน้า 177
  2. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 708
  3. ชูวงศ์ ฉายะบุตร, การปกครองท้องถิ่นไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สมาคมนิสิตเก่ารัฐศาสตร์, หน้า44
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติศักดินาเจ้านายพระยาท้าวแสนประเทศราช, เล่ม 16, วันที่ 16 กรกฎาคม ร.ศ. 118, หน้า 197