ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามครูเสดครั้งที่ 1"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poom3619 (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนบทความเก่า เป็น Comment, เปลี่ยนตัวหนังสือให้ขนาดปกติ
Poom3619 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำเรียกกองทัพทั้งสองฝ่ายให้เป็นกลาง และเหมาะต่อการศึกษา
บรรทัด 83: บรรทัด 83:
'''สงครามครูเสดครั้งที่ 1''' (1095-1099) เป็นความพยายามครั้งแรกในการทวงคืน ‘ดินแดนศักดิ์สิทธิ์’การครูเสดถูกประกาศโดย องค์พระสันตะปาปา ออร์บันที่ 2 (Pope Urban 2) ที่สภาแห่งเคลย์มอนต์ในปี ค.ศ. 1095
'''สงครามครูเสดครั้งที่ 1''' (1095-1099) เป็นความพยายามครั้งแรกในการทวงคืน ‘ดินแดนศักดิ์สิทธิ์’การครูเสดถูกประกาศโดย องค์พระสันตะปาปา ออร์บันที่ 2 (Pope Urban 2) ที่สภาแห่งเคลย์มอนต์ในปี ค.ศ. 1095


พระสันตะปาปาออร์บันที่ 2 ได้รวบรวมกองกำลังทหารเพื่อให้ความช่วยเหลือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือสำนักโรมันตะวันออก หลังจากที่ได้สูญเสียดินแดนในอนาโตเลีย (Anatolia) ให้กับพวก เซลจุค เติร์ก (Seljuq Turks) การรวบรวมทหารนั้นนำโดยกลุ่มขุนนางชาวแฟรงก์ หรือที่รู้จักในนาม ครูเสดของเจ้าชาย (Princes’ Crusade)
พระสันตะปาปาออร์บันที่ 2 ได้รวบรวมกองกำลังทหารเพื่อให้ความช่วยเหลือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือสำนักโรมันตะวันออก หลังจากที่ได้สูญเสียดินแดนในอนาโตเลีย (Anatolia) ให้กับเซลจุค เติร์ก (Seljuq Turks) การรวบรวมทหารนั้นนำโดยกลุ่มขุนนางชาวแฟรงก์ หรือที่รู้จักในนาม ครูเสดของเจ้าชาย (Princes’ Crusade)


ไม่เพียงแต่ทวงคือเขตอนาโตเลีย แต่ยังเดินทางเพื่อพิชิตดินแดนศักดิ์สิทธิ์ ที่ตกไปอยู่ภายใต้การครอบครองโดยมุสลิมตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 7 และจนกระทั่งการ 'ยึดคืนเยรูซาเล็ม’ (Re-conqest of Jerusalem) และการ สถาปนา ‘ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม’ (Kingdom of Jerusalem) ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1099
ไม่เพียงแต่ทวงคือเขตอนาโตเลีย แต่ยังเดินทางเพื่อพิชิตดินแดนศักดิ์สิทธิ์ ที่ตกไปอยู่ภายใต้การครอบครองโดยมุสลิมตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 7 และจนกระทั่งการ 'ยึดคืนเยรูซาเล็ม’ (Re-conqest of Jerusalem) และการ สถาปนา ‘ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม’ (Kingdom of Jerusalem) ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1099
บรรทัด 95: บรรทัด 95:
ในทางกลับกันกองทัพของ ‘ครูเสดของเจ้าชาย’ ซื่งการจัดการที่ดีกว่า ได้ทำการเดินทัพไปในปลายฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1096 และถึงกรุงคอนสแตนติโนเปิล (Constantinople) ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1096 ถึง เดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1097
ในทางกลับกันกองทัพของ ‘ครูเสดของเจ้าชาย’ ซื่งการจัดการที่ดีกว่า ได้ทำการเดินทัพไปในปลายฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1096 และถึงกรุงคอนสแตนติโนเปิล (Constantinople) ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1096 ถึง เดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1097


พวกครูเสดเดินทัพเข้าสู่อนาโตเลีย ยึดไนซีอา ในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 1097 และ แอนติโอค ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1098 พวกเขาเดินทางมาถึงเยรูซาเล็มในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1099 และทำการล้อมป้อมโจมตีชิงเมือง ในวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.1099 ทำการปราบปรามกองทหารประจำการ
กองทัพครูเสดเดินทัพเข้าสู่อนาโตเลีย ยึดไนซีอา ในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 1097 และ แอนติโอค ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1098 พวกเขาเดินทางมาถึงเยรูซาเล็มในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1099 และทำการล้อมป้อมโจมตีชิงเมือง ในวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.1099 ทำการปราบปรามกองทหารประจำการ


มีการเตรียมแผนยึดเยรูซาเล็มกลับโดยซาระเซ็น (Saracen) แต่แผนการนี้ก็ต้องล้มเหลวไปเพราะอัศวินครูเสดนำกองทัพเข้ามาโจมตีกองทัพมุสลิม ในศึก อาสคาลอน จึงทำให้แผนการยึดเยรูซาเล็มของมุสลิมไม่ประสบความสำเร็จ
มีการเตรียมแผนยึดเยรูซาเล็มกลับโดยซาระเซ็น (Saracen) แต่แผนการนี้ก็ต้องล้มเหลวไปเพราะอัศวินครูเสดนำกองทัพเข้ามาโจมตีกองทัพมุสลิม ในศึก อาสคาลอน จึงทำให้แผนการยึดเยรูซาเล็มของมุสลิมไม่ประสบความสำเร็จ


ระหว่างที่พวกเขาพิชิตดินแดน พวกนักรบครูเสดสถาปนา ‘รัฐครูเสดละติน’ (Latin Rite crusader states ) แห่ง ‘ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม’ (Kingdom of Jerusalem)
ระหว่างที่พวกเขาพิชิตดินแดน กองทัพครูเสดสถาปนา ‘รัฐครูเสดละติน’ (Latin Rite crusader states ) แห่ง ‘ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม’ (Kingdom of Jerusalem)


เมืองทิโปรี (Tripoli) ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) เมืองอิเดสซา (County of Edessa) ซึ่งตรงกันข้ามกับความปรารถนาของไบเซนไทน์ เพราะเมืองพวกนั้นเคยเป็นของไบเซนไทน์ แต่พวกครูเสดปฏิเสธที่จะให้คืนกับพวกเขา
เมืองทิโปรี (Tripoli) ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) เมืองอิเดสซา (County of Edessa) ซึ่งตรงกันข้ามกับความปรารถนาของไบเซนไทน์ เพราะเมืองเหล่านั้นเคยเป็นของไบเซนไทน์มาก่อน แต่กองทัพครูเสดปฏิเสธที่จะให้คืนกับพวกเขา


แต่พวกที่ต้องการดินแดนส่วนนั้นจริงๆก็คือ พวกมุสลิมที่ต้องการดินแดนส่วนนั้นคืนหลังจากที่ถูกยึดโดยพวกละตินคาทอลิก
แต่ผู้ที่ต้องการดินแดนส่วนนั้นจริงๆก็คือ ฝ่ายมุสลิมที่ต้องการดินแดนส่วนนั้นคืนหลังจากที่ถูกยึดโดยทหารละตินคาทอลิก


หลังจากยึดคืนเยรูซาเล็มได้แล้ว พวกนักรบครูเสดส่วนมากได้เดินทาง กลับบ้าน ซึ่งการเดินทางออกจากเยรูซาเล็มนั้น ทำให้อาณาจักรง่ายต่อพวกมุสลิมที่หวังจะกลับมายึดคืน ในสงครามครูเสดครั้งต่อไป
หลังจากยึดคืนเยรูซาเล็มได้แล้ว นักรบครูเสดส่วนมากได้เดินทาง กลับบ้าน ซึ่งการเดินทางออกจากเยรูซาเล็มนั้น ทำให้อาณาจักรง่ายต่อกองทัพมุสลิมที่หวังจะกลับมายึดคืน ในสงครามครูเสดครั้งต่อไป


==='''ครูเสดชาวบ้าน (People Crusade)'''===
==='''ครูเสดชาวบ้าน (People Crusade)'''===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:41, 31 กรกฎาคม 2561

สงครามครูเสดครั้งที่ 1
ส่วนหนึ่งของ สงครามครูเสด

การยึดเยรูซาเลมเป็นความสำเร็จในสงครามครูเสดครั้งที่ 1
วันที่ค.ศ. 1096–1099
สถานที่
ผล ชัยชนะเด็ดขาดของนักรบครูเสด
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
สถาปนาราชอาณาจักรเยรูซาเลมและรัฐนักรบครูเสดอื่น
คู่สงคราม

กองทัพครูเสด:

กองทัพมุสลิม:

กำลัง

นักรบครูเสด:
~ 35,000 นาย

  • ทหารราบ 30,000 นาย
  • ทหารม้า 5,000 นาย

ไบแซนไทน์:

~ 2,000 นาย[1]
ไม่ทราบ

สงครามครูเสดครั้งที่ 1 (1095-1099) เป็นความพยายามครั้งแรกในการทวงคืน ‘ดินแดนศักดิ์สิทธิ์’การครูเสดถูกประกาศโดย องค์พระสันตะปาปา ออร์บันที่ 2 (Pope Urban 2) ที่สภาแห่งเคลย์มอนต์ในปี ค.ศ. 1095

พระสันตะปาปาออร์บันที่ 2 ได้รวบรวมกองกำลังทหารเพื่อให้ความช่วยเหลือ จักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือสำนักโรมันตะวันออก หลังจากที่ได้สูญเสียดินแดนในอนาโตเลีย (Anatolia) ให้กับเซลจุค เติร์ก (Seljuq Turks) การรวบรวมทหารนั้นนำโดยกลุ่มขุนนางชาวแฟรงก์ หรือที่รู้จักในนาม ครูเสดของเจ้าชาย (Princes’ Crusade)

ไม่เพียงแต่ทวงคือเขตอนาโตเลีย แต่ยังเดินทางเพื่อพิชิตดินแดนศักดิ์สิทธิ์ ที่ตกไปอยู่ภายใต้การครอบครองโดยมุสลิมตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 7 และจนกระทั่งการ 'ยึดคืนเยรูซาเล็ม’ (Re-conqest of Jerusalem) และการ สถาปนา ‘ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม’ (Kingdom of Jerusalem) ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1099

จักรพรรดิแห่งไบแซนไทน์ จักรพรรดิอเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอส (Alexios I Komnenos) ได้ขอความช่วยเหลือทางการทหารจาก พระสันตะปาปาออร์บันที่ 2 เพื่อเกลี้ยกล่อม ให้สภาแห่งเคลย์มอนต์ (Councill of Clermont) ช่วยทำศึกปิดล้อมเมืองไนซีอา (Nicaea) และเมืองแอนติโอค (Antioch)

พระสันตะปาปาออร์บันที่ 2 ได้กล่าวสุนทรพจน์ ที่สภาแห่งเคลย์มอนต์ ในการเป็นประจักษ์พยาน ในการบันทึกคำพูดของพระสันตะปาปาออร์บันที่ 2 เกี่ยวกับการทวงคืน นครเยรูซาเล็มและดินแดนศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นเป้าหมายรอง [บทนี้อาจไม่ถูกต้อง]

ความสำเร็จของ ‘ครูเสดของเจ้าชาย’ เกิดขึ้นหลังจาก “ครูเสดชาวบ้าน” (People’s Crusade) โดยครูเสดชาวบ้านได้ถูกชักนำโดย ‘ปีเตอร์ นักพรต’ (Peter the Hermit) ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ.1096 กลุ่มชาวบ้านและฆราวาส ได้เดินทางไปที่อนาโตเลีย ที่ๆพวกเขาจะพบกับกองทัพเติร์ก ระหว่างทางได้เกิดการโจมตีชาวยิวในส่วนหนึ่งของเยอรมันตะวันตก (Rhineland) แต่ทว่าพวกเขาก็มาพ่ายแพ้อย่างราบคาบในศึกซีวีทรอต (Battle of Civetot) ในเดือนตุลาคม

ในทางกลับกันกองทัพของ ‘ครูเสดของเจ้าชาย’ ซื่งการจัดการที่ดีกว่า ได้ทำการเดินทัพไปในปลายฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1096 และถึงกรุงคอนสแตนติโนเปิล (Constantinople) ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1096 ถึง เดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1097

กองทัพครูเสดเดินทัพเข้าสู่อนาโตเลีย ยึดไนซีอา ในเดือน มิถุนายน ค.ศ. 1097 และ แอนติโอค ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1098 พวกเขาเดินทางมาถึงเยรูซาเล็มในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1099 และทำการล้อมป้อมโจมตีชิงเมือง ในวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ.1099 ทำการปราบปรามกองทหารประจำการ

มีการเตรียมแผนยึดเยรูซาเล็มกลับโดยซาระเซ็น (Saracen) แต่แผนการนี้ก็ต้องล้มเหลวไปเพราะอัศวินครูเสดนำกองทัพเข้ามาโจมตีกองทัพมุสลิม ในศึก อาสคาลอน จึงทำให้แผนการยึดเยรูซาเล็มของมุสลิมไม่ประสบความสำเร็จ

ระหว่างที่พวกเขาพิชิตดินแดน กองทัพครูเสดสถาปนา ‘รัฐครูเสดละติน’ (Latin Rite crusader states ) แห่ง ‘ราชอาณาจักรเยรูซาเล็ม’ (Kingdom of Jerusalem)

เมืองทิโปรี (Tripoli) ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) เมืองอิเดสซา (County of Edessa) ซึ่งตรงกันข้ามกับความปรารถนาของไบเซนไทน์ เพราะเมืองเหล่านั้นเคยเป็นของไบเซนไทน์มาก่อน แต่กองทัพครูเสดปฏิเสธที่จะให้คืนกับพวกเขา

แต่ผู้ที่ต้องการดินแดนส่วนนั้นจริงๆก็คือ ฝ่ายมุสลิมที่ต้องการดินแดนส่วนนั้นคืนหลังจากที่ถูกยึดโดยทหารละตินคาทอลิก

หลังจากยึดคืนเยรูซาเล็มได้แล้ว นักรบครูเสดส่วนมากได้เดินทาง กลับบ้าน ซึ่งการเดินทางออกจากเยรูซาเล็มนั้น ทำให้อาณาจักรง่ายต่อกองทัพมุสลิมที่หวังจะกลับมายึดคืน ในสงครามครูเสดครั้งต่อไป

ครูเสดชาวบ้าน (People Crusade)

เหล่าขุนนางและอัศวินแห่งฝรั่งเศสไม่ใช่กองทัพกลุ่มแรกที่เดินทางไปยังกรุงเยรูซาเลม พวกเขาได้ออกเดินทางในวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ.1096 แต่หนึ่งเดือนก่อนหน้านั้นกองทัพของหล่าชาวบ้านและขุนนางชั้นผู้น้อย ได้ออกเดินทางไปก่อนหน้าแล้ว นำโดยปีเตอร์นักพรต(Peter the Hermit)

ในศตวรรษต่อมาได้มีการวิเคราะห์กันว่ากองทัพที่ปีเตอร์นำนั้นเต็มไปด้วยชาวบ้านที่ไม่ได้รับการฝึกและไม่รู้หนังสือ แถมยังมีบ้างส่วนที่ไม่รู้จักแม้กระทั้งกรุงเยรูซาเลมอีกด้วย แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีอัศวินจำนวนหนึ่งติดตามมาด้วยนั้นก็คือวอลเตอร์เดอะเพนนิเลส (Walter the Penniless) ซึ่งทำหน้าที่เป็นรองผู้บัญชาการ

กองทัพที่ขาดวินัยและอยู่ในดินแดนที่ไม่คุ้นเคย ปีเตอร์และคณะชาวบ้านของเขาก็พบว่าตนเองนั้นยังอยู่ในดินแดนของชาวคริสเตียน กองทัพส่วนหนึ่งที่นำโดยวอลเตอร์ได้เข้าประทะกับกองทัพฮังกาเรี่ยนที่เบลเกรด แต่ส่วนมากก็ได้ไปถึงกรุงคอนสแตนติโนเปิลอย่างปลอดภัยและได้เข้าร่วมกับขณะครูเสดจาก ฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี

ในทันทีที่เหล่าชาวบ้านได้มาถึงชานเมืองกรุงคอนสแตนติโนเปิล พวกเขาก็ได้เข้าปล้นพื้นที่ไกล้เคียงจึงทำให้จักรพรรดิอเล็กซิออสต้องทำการจัดเรือข้ามช่องแคบบอสพอรัสอย่างเร่งรีบ และเมื่อเหล่าขณะครูเสดชาวบ้านได้เหยียบดินแดนเอเชียน้อย ก็ได้แยกย้ายกันบุกเข้าปล้นดินแดนชนบท และได้ถลำลึกเข้าไปในดินแดนของเซลจุคบริเวณนครนิเซีย ก็ถูกกองกำลังของเซลจุคล้อมเอาไว้และถูกสังหารหมู่ในเดือนสิงหาคม และต่อมากองทัพของปีเตอร์ก็ได้พ้ายแพ้กองทัพเติร์กอย่างราบคาบในศึกที่ซีวีทรอตในเดือนตุลาคมโดยพลธนูของฝั่งเติร์ก ปีเตอร์และขณะชาวบ้านที่เหลือรอดก็ได้หนีกลับไปที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล และได้เข้าร่วมกับกองทัพครูเสดที่ตามมาในภายหลัง

สงครามครูเสดครั้งที่ 1 เป็นการสนองส่วนหนึ่งของคริสต์ศาสนิกชนต่อการพิชิตดินแดนโดยมุสลิม และมีสงครามครูเสดครั้งที่ 2 ถึงครั้งที่ 9 ตามมา แต่สิ่งที่ได้มายืนยาวอยู่ไม่เกิน 200 ปี สงครามนี้ยังเป็นก้าวสำคัญก้าวแรกสู่การเปิดการค้าระหว่างประเทศอีกหนในทางตะวันตกนับแต่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลาย



อ้างอิง

  1. Nicolle 2003, pp. 21 and 32.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สงครามครูเสดครั้งที่ 1