ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาแบบอินเดีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
น่าจะใช้ว่าเว็บไซต์ เพราะเป็น inline citation แหล่งข้อมูลอื่น ตรงกับ external link และไม่อ้างถึงในบทความ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Ganesh mimarjanam EDITED.jpg|thumb|upright|[[Ganesha]], a deity common to Hindus, Jains, and Buddhists. Primarily a widely-worshipped Hindu deity, he plays a lesser role in other religions.]]
[[ไฟล์:Ganesh mimarjanam EDITED.jpg|thumb|upright|[[พระพิฆเนศวร]] [[เทพเจ้าฮินดู]]ที่เป็นที่เป็นที่บูชาทั่วโลก]]
[[ไฟล์:BuddhaTwang.jpg|thumb|160px|A Statue of [[Gautama Buddha|the Buddha]].]]
[[ไฟล์:BuddhaTwang.jpg|thumb|160px|[[พระพุทธรูป]].]]
[[ไฟล์:Gomateswara.jpg|thumb|150px|A Statue of the [[Jain]] deity [[Bahubali]].]]
[[ไฟล์:Gomateswara.jpg|thumb|150px|เทวรูป[[พระพาหุพลี]] [[พระอริหันต์]]ในศาสนาเชน]]
[[ไฟล์:Sikh Gurus with Bhai Bala and Bhai Mardana.jpg|thumb|145px|[[Guru Nanak]] and the ten [[Sikh Gurus]] in a [[Tanjore painting|Tanjore]]-style painting from the late 19th century.]]
[[ไฟล์:Sikh Gurus with Bhai Bala and Bhai Mardana.jpg|thumb|145px|[[คุรุนานักเทพ]]และสิบ[[คุรุในศาสนาซิกข์]] ภาพวาดช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19]]


'''ศาสนาแบบอินเดีย''' ({{lang-en|Indian religions}}) คือ[[ศาสนา]]ที่มีต้นกำเนิดใน[[อนุทวีปอินเดีย]] ได้แก่ [[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาเชน]] [[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาซิกข์]]<ref group=web name = EB>Adams, C. J., [http://www.britannica.com/eb/article-38030/classification-of-religions Classification of religions: Geographical], [[Encyclopædia Britannica]], 2007. Accessed: 15 July 2010</ref> ศาสนาเหล่านี้ถือว่าเป็น[[ศาสนาตะวันออก]] แม้ศาสนาแบบอินเดียจะเกี่ยวพันกับ[[ประวัติศาสตร์อินเดีย]] แต่ก็ไม่ได้มีอยู่เฉพาะในอนุทวีปอินเดียเท่านั้น ยังได้แพร่หลายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ด้วย<ref group=web name="EB"/>
'''ศาสนาแบบอินเดีย''' ({{lang-en|Indian religions}}) คือ[[ศาสนา]]ที่มีต้นกำเนิดใน[[อนุทวีปอินเดีย]] ได้แก่ [[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาเชน]] [[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาซิกข์]]<ref group=web name = EB>Adams, C. J., [http://www.britannica.com/eb/article-38030/classification-of-religions Classification of religions: Geographical], [[Encyclopædia Britannica]], 2007. Accessed: 15 July 2010</ref> ศาสนาเหล่านี้ถือว่าเป็น[[ศาสนาตะวันออก]] แม้ศาสนาแบบอินเดียจะเกี่ยวพันกับ[[ประวัติศาสตร์อินเดีย]] แต่ก็ไม่ได้มีอยู่เฉพาะในอนุทวีปอินเดียเท่านั้น ยังได้แพร่หลายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ด้วย<ref group=web name="EB"/>
บรรทัด 15: บรรทัด 15:


==ความเหมือนและความแตกต่าง==
==ความเหมือนและความแตกต่าง==
[[ไฟล์:Om.svg|thumb|left|120px|[[Aum]]]]
[[ไฟล์:Abraham Dharma.png|thumb|right|แผนที่แสดง[[ศาสนาอับราฮัม]] (สีชมพู) และศาสนาแบบอินเดีย (เหลือง) ในแต่ละประเทศ]]
[[ไฟล์:Abraham Dharma.png|thumb|right|แผนที่แสดง[[ศาสนาอับราฮัม]] (สีชมพู) และศาสนาแบบอินเดีย (เหลือง) ในแต่ละประเทศ]]


บรรทัด 21: บรรทัด 20:


===ความเหมือน===
===ความเหมือน===
[[ไฟล์:Om.svg|thumb|left|120px|[[โอม]]]]

[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาเชน]] และ[[ศาสนาซิกข์]] มีหลักการพื้นฐานบางอย่างร่วมกัน ซึ่งอาจตีความต่างออกไปโดนศาสนิกชนแต่ละกลุ่มและแต่ละปัจเจกบุคคคล{{sfn|Sherma|2008|p=239}} ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศาสนิกชนเหล่านี้มิได้ติดป้ายตนเองให้แตกต่างจากผู้อื่น หากแต่เห็นว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวทางวัฒนธรรมที่แตกสาขาออกมาแต่ร่วมรากเดียวกัน{{sfn|Lipner|1998|p=12}}
[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] [[ศาสนาเชน]] และ[[ศาสนาซิกข์]] มีหลักการพื้นฐานบางอย่างร่วมกัน ซึ่งอาจตีความต่างออกไปโดนศาสนิกชนแต่ละกลุ่มและแต่ละปัจเจกบุคคคล{{sfn|Sherma|2008|p=239}} ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศาสนิกชนเหล่านี้มิได้ติดป้ายตนเองให้แตกต่างจากผู้อื่น หากแต่เห็นว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวทางวัฒนธรรมที่แตกสาขาออกมาแต่ร่วมรากเดียวกัน{{sfn|Lipner|1998|p=12}}


บรรทัด 34: บรรทัด 33:
* {{Citation | last1 =Flood | first1 =Gavin | last2 =Olivelle | first2 =Patrick | year =2003 | title =The Blackwell Companion to Hinduism | place =Malden | publisher =Blackwell}}
* {{Citation | last1 =Flood | first1 =Gavin | last2 =Olivelle | first2 =Patrick | year =2003 | title =The Blackwell Companion to Hinduism | place =Malden | publisher =Blackwell}}
* {{Citation | last =Jain | first =Arun | year =2008 | title =Faith & philosophy of Jainism}}
* {{Citation | last =Jain | first =Arun | year =2008 | title =Faith & philosophy of Jainism}}
* {{Citation | last =Larson | first =Gerald James | year =2012 | title =The Issue of Not Being Different Enough: Some Reflections on Rajiv Malhotra’s Being Different | journal =International Journal of Hindu Studies (Vol. 16, No. 3, December 2012)}}
* {{Citation | last =Mallinson | first =James | year =2007 | title =The Khecarīvidyā of Ādinātha}}
* {{Citation | last =Mallinson | first =James | year =2007 | title =The Khecarīvidyā of Ādinātha}}
* {{Citation | last =Michaels | first =Axel | year =2004 | title =Hinduism. Past and present | place =Princeton, New Jersey | publisher =Princeton University Press}}
* {{Citation | last =Michaels | first =Axel | year =2004 | title =Hinduism. Past and present | place =Princeton, New Jersey | publisher =Princeton University Press}}
* {{Citation | last1 =Sherma | first1 =Rita D. | last2 =Sarma | first2 =Aravinda | year =2008 | title =Hermeneutics and Hindu Thought: Toward a Fusion of Horizons | publisher =Springer}}
* {{Citation | last =Svarghese | first =Alexander P. | year =2008 | title =India : History, Religion, Vision And Contribution To The World}}
* {{Citation | last =Svarghese | first =Alexander P. | year =2008 | title =India : History, Religion, Vision And Contribution To The World}}
* {{Citation | last =Yelle | first =Robert A. | year =2012 | title =Comparative Religion as Cultural Combat: Occidentalism and Relativism in Rajiv Malhotra’s Being Different | journal =International Journal of Hindu Studies (Vol. 16, No. 3, December 2012)}}
{{refend}}
{{refend}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:22, 5 พฤศจิกายน 2556

พระพิฆเนศวร เทพเจ้าฮินดูที่เป็นที่เป็นที่บูชาทั่วโลก
พระพุทธรูป.
เทวรูปพระพาหุพลี พระอริหันต์ในศาสนาเชน
คุรุนานักเทพและสิบคุรุในศาสนาซิกข์ ภาพวาดช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19

ศาสนาแบบอินเดีย (อังกฤษ: Indian religions) คือศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอนุทวีปอินเดีย ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์[web 1] ศาสนาเหล่านี้ถือว่าเป็นศาสนาตะวันออก แม้ศาสนาแบบอินเดียจะเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์อินเดีย แต่ก็ไม่ได้มีอยู่เฉพาะในอนุทวีปอินเดียเท่านั้น ยังได้แพร่หลายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ด้วย[web 1]

ชาวฮารัปปาในอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุราว 3300-1300 ปีก่อนคริสต์ศักราชมีวัฒนธรรมแบบเมืองมาตั้งแต่ก่อนการเข้ามาของศาสนาพระเวท ชาวทราวิฑและตระกูลภาษาดราวิเดียนในอินเดียใต้ก็มีมาก่อนศาสนาพระเวทเช่นกัน

ประวัติศาสตร์นับจุดเริ่มต้นของศาสนาแบบอินเดียที่ศาสนาพราหมณ์ของชาวอินโด-อารยัน ซึ่งต่อมาได้รวบรวมเป็นคัมภีร์พระเวท และเรียกยุคที่มีการเรียบเรียงคัมภีร์พระเวทว่ายุคพระเวท ซึ่งตรงกับช่วง 1750-550 ปีก่อนคริสต์ศักราช[1] จากนั้นจึงเป็นยุคปฏิรูป ซึ่งได้พัฒนาศาสนาพราหมณ์มาเป็นศาสนาฮินดูในปัจจุบัน[2] มีขบวนการสมณะเป็นขบวนการศาสนาที่เกิดขึ้นแยกจากสายพระเวทและดำรงอยู่คู่ขนานกันมา ศาสนาพุทธ[3] ศาสนาเชน[4] สำนักโยคะ[5] ความเชื่อเรื่องสังสารวัฏ และโมกษะ[6] ก็มีที่มาจากขบวนสมณะนี้ด้วย

ยุคปุราณะซึ่งตรงกับช่วง 200 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง ค.ศ. 500 และต้นยุคกลางซึ่งตรงกับ ค.ศ. 500-1,100 เป็นช่วงที่เกิดสำนักใหม่ ๆ ขึ้นในศาสนาฮินดู เช่น ลัทธิภักติ ลัทธิไศวะ ลัทธิศากติ ลัทธิไวษณพ จากนั้นจึงเข้าสู่ยุคอิสลามราว ค.ศ. 1,100-1,500 และคุรุนานักเทพตั้งศาสนาซิกข์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15[web 2] และแพร่หลายมากในภูมิภาคปัญจาบ

เมื่อถึงยุคจักรวรรดินิยมที่อังกฤษเข้าปกครองอินเดียว กระแสการตีควาใหม่ในศาสนาฮินดูเป็นหนึ่งในตัวช่วยที่ทำให้เกิดกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยอินเดีย

ความเหมือนและความแตกต่าง

แผนที่แสดงศาสนาอับราฮัม (สีชมพู) และศาสนาแบบอินเดีย (เหลือง) ในแต่ละประเทศ

ตามแนวทางของ Tilak เราอาจศึกษาตีความศาสนาแบบอินเดียในส่วนของความเหมือนและความแตกต่าง[7] ผู้ศึกษาจากตะวันตกมักเน้นไปที่ความแตกต่าง ในขณะที่นักวิชาการอินเดียเองมุ่งเน้นศึกษาส่วนที่เหมือนกัน[8]

ความเหมือน

โอม

ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน และศาสนาซิกข์ มีหลักการพื้นฐานบางอย่างร่วมกัน ซึ่งอาจตีความต่างออกไปโดนศาสนิกชนแต่ละกลุ่มและแต่ละปัจเจกบุคคคล[8] ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศาสนิกชนเหล่านี้มิได้ติดป้ายตนเองให้แตกต่างจากผู้อื่น หากแต่เห็นว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวทางวัฒนธรรมที่แตกสาขาออกมาแต่ร่วมรากเดียวกัน[9]

ความต่าง

ศาสนาแบบอินเดียแต่ละศาสนามีความแตกต่างกัน และภายในแต่ละศาสนาก็มีความแตกต่างกันระหว่างนิกาย[10][11] เช่น ธรรม ในศาสนาฮินดูหมายถึง หน้าที่ ในศาสนาเชน หมายถึง การทำความดี ส่วนศาสนาพุทธเรียกว่า พระธรรม หมายถึง คำสอนของพระพุทธเจ้า

อ้างอิง

  1. Michaels 2004, p. 33.
  2. Michaels 2004, p. 38.
  3. Svarghese 2008, p. 259-60.
  4. Jain 2008, p. 210.
  5. Mallinson 2007, p. 17-8, 32-33.
  6. Flood 2003, p. 273-4.
  7. Sharma 2008, p. 239.
  8. 8.0 8.1 Sherma 2008, p. 239.
  9. Lipner 1998, p. 12.
  10. Larson 2012, p. 313-314.
  11. Yelle 2012, p. 338-339.

สิ่งพิมพ์

  • Flood, Gavin; Olivelle, Patrick (2003), The Blackwell Companion to Hinduism, Malden: Blackwell
  • Jain, Arun (2008), Faith & philosophy of Jainism
  • Larson, Gerald James (2012), "The Issue of Not Being Different Enough: Some Reflections on Rajiv Malhotra's Being Different", International Journal of Hindu Studies (Vol. 16, No. 3, December 2012)
  • Mallinson, James (2007), The Khecarīvidyā of Ādinātha
  • Michaels, Axel (2004), Hinduism. Past and present, Princeton, New Jersey: Princeton University Press
  • Sherma, Rita D.; Sarma, Aravinda (2008), Hermeneutics and Hindu Thought: Toward a Fusion of Horizons, Springer
  • Svarghese, Alexander P. (2008), India : History, Religion, Vision And Contribution To The World
  • Yelle, Robert A. (2012), "Comparative Religion as Cultural Combat: Occidentalism and Relativism in Rajiv Malhotra's Being Different", International Journal of Hindu Studies (Vol. 16, No. 3, December 2012)

เว็บไซต์

  1. 1.0 1.1 Adams, C. J., Classification of religions: Geographical, Encyclopædia Britannica, 2007. Accessed: 15 July 2010
  2. Adherents.com. "Religions by adherents" (PHP). สืบค้นเมื่อ 2007-02-09.