ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัญญาประชาคม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Misha motsniy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 40 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q1326430 (translate me)
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
[[หมวดหมู่:สังคมวิทยา]]
[[หมวดหมู่:สังคมวิทยา]]


[[ar:عقد اجتماعي]]
[[bg:Обществен договор]]
[[bn:সামাজিক চুক্তি তত্ত্ব]]
[[ca:Contracte social]]
[[cs:Společenská smlouva]]
[[da:Social kontrakt]]
[[de:Vertragstheorie]]
[[en:Social contract]]
[[es:Contrato social]]
[[et:Ühiskondlik leping]]
[[fa:قرارداد اجتماعی]]
[[fi:Yhteiskuntasopimus]]
[[fr:Contractualisme]]
[[he:אמנה חברתית]]
[[hi:सामाजिक संविदा]]
[[hu:Társadalmi szerződés]]
[[id:Kontrak sosial]]
[[io:Sociala kontrato]]
[[is:Samfélagssáttmáli]]
[[it:Contratto sociale]]
[[ja:社会契約]]
[[ka:სოციალური კონტრაქტი]]
[[ko:사회 계약]]
[[ky:Коомдук келишим теориясы]]
[[la:Contractus socialis]]
[[lt:Visuomenės sutartis]]
[[lv:Sabiedriskais līgums]]
[[ml:സോഷ്യൽ കോണ്ട്രാക്റ്റ്]]
[[nl:Sociaal contract]]
[[pl:Umowa społeczna]]
[[pt:Contrato social]]
[[ro:Contract social]]
[[ru:Общественный договор]]
[[uk:Суспільний договір]]
[[simple:Social contract]]
[[sv:Kontraktualism]]
[[ta:சமுதாய ஒப்பந்தம்]]
[[tr:Toplum sözleşmesi]]
[[vi:Khế ước xã hội]]
[[yi:געזעלשאפטלעכער אפמאך]]
[[yi:געזעלשאפטלעכער אפמאך]]
[[zh:社會契約]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:38, 10 มีนาคม 2556

สัญญาประชาคม (อังกฤษ: Social contract) ในความหมายที่นำมาใช้ในการเมืองไทยปัจจุบัน หมายถึง ความตกลงร่วมกันของประชาชน กลุ่มผลประโยชน์ร่วมกันหรือกลุ่มคนที่มีแนวความคิดเดียวกัน กับฝ่ายตรงข้าม เพื่อเป็นการแสวงความตกลงและทางออกของปัญหาซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างซึ่งหากปล่อยไว้อาจจะก่อให้เกิดความแตกแยกในสังคม

ความหมายที่แท้จริงนั้น "สัญญาประชาคม" หมายถึง ทฤษฎีสัญญาประชาคม อันเป็นนัยตามหลักกฎหมายธรรมชาติ มีลักษณะเป็น สำนึกของจริยธรรม ที่ผู้ปกครองควรตระหนักถึง สิทธิบางประการที่ผู้อยู่ใต้ปกครอง (ประชาคม) ได้ยอมสละไป (อาจเรียกได้ว่ายอมอยู่ใต้อำนาจของผู้ปกครอง) เพื่อความปลอดภัยของตนในสิทธิและเสรีภาพที่ยังคงเหลืออยู่ แนวคิดเช่นนี้เองที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย โดยตรรกะจากสำนึกจริยธรรมดังกล่าว หากมองในมุมกลับกันก็หมายความว่า อำนาจแท้จริงของผู้ปกครองนั้นมาจากประชาชนนั่นเอง ดังนั้นประชาชนควรจะเป็นผู้ที่ใช้สิทธิของตนเลือกผู้ปกครองขึ้นมา และในการนี้วิธีที่เหมาะสมก็คือการใช้เสียงข้างมากในการตัดสิน

มีนักคิดหลายคนที่ถือว่าเป็นผู้มีส่วนในการริเริ่มแนวคิดเรื่องสัญญาประชาคม เช่น

อย่างไรก็ตามจุดริเริ่มแนวคิดนี้ในหนังสือ Leviathan (The Matter, Forme and Power of a Common Wealth Ecclesiasticall and Civil) นั้น ฮอบส์ไม่ได้เขียนเพื่อมุ่งกล่าวถึงสัญญาประชาคมโดยเฉพาะเจาะจง แต่มุ่งอธิบายถึงธรรมชาติของมนุษย์และโครงสร้างสังคม เป็นที่น่าสังเกตว่า ตัวฮอบส์เองนั้นปฏิเสธหลักการแบ่งอำนาจอธิปไตย ไม่ปฏิเสธระบอบกษัตริย์ แต่กล่าวถึงแนวทางการใช้อำนาจที่เหมาะสมเท่านั้น