ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลศาสตร์ควอนตัม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก kk:Толқындық механика ไปเป็น kk:Кванттық механика
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
{{Link GA|zh}}
{{Link GA|zh}}


[[als:Quantenmechanik]]
[[an:Mecanica quantica]]
[[ar:ميكانيكا الكم]]
[[as:কোৱান্টাম বলবিজ্ঞান]]
[[az:Kvant mexanikası]]
[[bat-smg:Kvantėnė mekanėka]]
[[be:Квантавая механіка]]
[[be-x-old:Квантавая мэханіка]]
[[bg:Квантова механика]]
[[bn:কোয়ান্টাম বলবিজ্ঞান]]
[[bs:Kvantna mehanika]]
[[ca:Mecànica quàntica]]
[[cs:Kvantová mechanika]]
[[cv:Квантăллă механика]]
[[cy:Mecaneg cwantwm]]
[[da:Kvantemekanik]]
[[de:Quantenmechanik]]
[[el:Κβαντική μηχανική]]
[[en:Quantum mechanics]]
[[eo:Kvantuma mekaniko]]
[[es:Mecánica cuántica]]
[[et:Kvantmehaanika]]
[[eu:Mekanika kuantiko]]
[[ext:Mecánica cuántica]]
[[fa:مکانیک کوانتوم]]
[[fi:Kvanttimekaniikka]]
[[fiu-vro:Kvantmekaaniga]]
[[fr:Mécanique quantique]]
[[ga:Meicnic chandamach]]
[[gl:Mecánica cuántica]]
[[he:מכניקת הקוונטים]]
[[hi:प्रमात्रा यान्त्रिकी]]
[[hif:Quantum mechanics]]
[[hr:Kvantna mehanika]]
[[hu:Kvantummechanika]]
[[hy:Քվանտային մեխանիկա]]
[[ia:Mechanica quantic]]
[[id:Mekanika kuantum]]
[[is:Skammtafræði]]
[[it:Meccanica quantistica]]
[[ja:量子力学]]
[[ka:კვანტური მექანიკა]]
[[kk:Кванттық механика]]
[[kk:Кванттық механика]]
[[kn:ಕ್ವಾಂಟಮ್ ಭೌತಶಾಸ್ತ್ರ]]
[[ko:양자역학]]
[[la:Mechanica quantica]]
[[li:Kwantummechanica]]
[[lmo:Mecàniga di quanta]]
[[lt:Kvantinė mechanika]]
[[lv:Kvantu mehānika]]
[[mk:Квантна механика]]
[[ml:ക്വാണ്ടം ബലതന്ത്രം]]
[[mr:पुंज यामिकी]]
[[ms:Mekanik kuantum]]
[[mt:Mekkanika kwantistika]]
[[ne:प्रमात्रा यान्त्रिकी]]
[[new:क्वान्टम मेकानिक्स्]]
[[nl:Kwantummechanica]]
[[nn:Kvantemekanikk]]
[[no:Kvantemekanikk]]
[[oc:Mecanica quantica]]
[[pl:Mechanika kwantowa]]
[[pnb:کوانٹم مکینکس]]
[[pt:Mecânica quântica]]
[[ro:Mecanică cuantică]]
[[ru:Квантовая механика]]
[[rue:Квантова механіка]]
[[scn:Miccànica quantìstica]]
[[sh:Kvantna mehanika]]
[[si:ක්වොන්ටම් යාන්ත්‍ර විද්‍යා‍ව]]
[[simple:Quantum mechanics]]
[[sk:Kvantová mechanika]]
[[sl:Kvantna mehanika]]
[[sq:Mekanika kuantike]]
[[sr:Квантна механика]]
[[su:Mékanika kuantum]]
[[sv:Kvantmekanik]]
[[ta:குவாண்டம் விசையியல்]]
[[tl:Mekaniks na kwantum]]
[[tr:Kuantum mekaniği]]
[[tt:Квант механикасы]]
[[uk:Квантова механіка]]
[[ur:مقداریہ آلاتیات]]
[[vi:Cơ học lượng tử]]
[[war:Mekanika kwantum]]
[[wuu:量子力学]]
[[yi:קוואנטן-מעכאניק]]
[[zh:量子力学]]
[[zh-min-nan:Liōng-chú la̍t-ha̍k]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:51, 8 มีนาคม 2556

ฟังชันคลื่น (Wavefunction) ของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนที่ทรงพลังงานกำหนดแน่ (ที่เพิ่มลงล่าง n = 1, 2, 3, ...) และโมเมนตัมเชิงมุม (เพิ่มทางข้าง: s, p, d,...

กลศาสตร์ควอนตัม (อังกฤษ: quantum mechanics) เป็นสาขาหนึ่งในทฤษฎีรากฐานของฟิสิกส์ ที่มีความสามารถในการอธิบายผลการทดลองต่างๆ และถูกใช้แทนที่กลศาสตร์นิวตัน (หรือกลศาสตร์ดั้งเดิม) และ กลศาสตร์ไฟฟ้าของแม็กซ์เวลล์ (หรือทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า) ซึ่งกลศาสตร์ดั้งเดิมเหล่านี้ไม่สามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ในวัตถุที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม แต่กลศาสตร์ควอนตัมนั้นสามารถคำนวณได้แม่นยำมากกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อขนาดของวัตถุที่สนใจนั้นเล็กถึงขนาดอะตอม จึงกล่าวได้ว่ากลศาสตร์ควอนตัมนั้นเป็นรากฐานเบื้องต้นของฟิสิกส์ที่มีความสำคัญมากกว่ากลศาสตร์นิวตันและกลศาสตร์ไฟฟ้าของแม็กซ์เวลล์ หรือใกล้เคียงกับความจริงมากกว่านั่นเอง

กลศาสตร์ควอนตัมเริ่มในปี พ.ศ. 2443 เมื่อ มักซ์ พลังค์ ตีพิมพ์ทฤษฎีที่อธิบายถึงการปล่อยสเปกตรัมออกจากวัตถุดำ ซึ่ง 18 ปีต่อมา เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

ข้อแตกต่างของกลศาสตร์ดั้งเดิมและกลศาสตร์ควอนตัม กลายเป็นเรื่องประหลาด จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2469 แวร์เนอร์ ไฮเซนแบร์ก แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ และคนอื่นๆ สามารถอธิบายทฤษฎีดังกล่าวทางคณิตศาสตร์ได้

สำหรับความเกี่ยวเนื่องกับทฤษฎีทางฟิสิกส์อื่นๆ นั้น หากรวมสัมพัทธภาพพิเศษลงในกลศาสตร์ควอนตัม จะเรียกว่า พลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม หรือทฤษฎีสนามควอนตัม

ในปัจจุบัน ถือได้ว่า กลศาสตร์ควอนตัม และ สัมพัทธภาพทั่วไป เป็นเสาหลักของฟิสิกส์ยุคใหม่ ซึ่งยังไม่มีผู้ใดสามารถรวมสองทฤษฎีนี้เข้าด้วยกันได้ แต่ทฤษฎีสตริงอาจเป็นคำตอบสำหรับปัญหานี้

สูตรการแผ่รังสีของวัตถุดำ

เมื่อวัตถุถูกทำให้ร้อน มันจะปล่อยรังสีความร้อน ในรูปแบบของการแผ่รังสีแม่เหล็กย่านอินฟราเรด (ใต้แดง) เมื่อวัตถุกลายเป็นวัตถุแดงร้อน (red-hot) เราจะสามารถเห็นความยาวคลื่นสีแดงได้ แต่รังสีความร้อนส่วนใหญ่ที่แผ่ออกมายังคงเป็นอินฟราเรด จนกระทั่งวัตถุร้อนเท่ากับพื้นผิวของดวงอาทิตย์ (ประมาณ 6000 °C ที่ที่แสงส่วนใหญ่เป็นสีขาว)

สูตรการแผ่รังสีของวัตถุดำ เป็นผลงานแรกๆ ของทฤษฎีควอนตัม ในกลางคืน วันอาทิตย์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2443 โดยพลังก์ มันมาจากรายงานของรูเบนส์ (Rubens) จากการค้นพบล่าสุดในการค้นหาอินฟราเรด คืนนั้นเองพลังก์เขียนสูตรลงบนโปสการ์ด รูเบนส์ ได้รับโปสการ์ดนั้นในเช้าวันถัดมา

เมื่อ

  • n = เลขควอนตัม
  • E = พลังงาน
  • f = ความถี่ single mode ที่แผ่รังสี

วันที่มีการค้นพบควอนตัม

จากการทดลอง พลังก์ค้นพบค่าของ h และ k ดังนั้นเขาสามารถรายงานในการประชุม the German Physical Society ในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2443 ที่ซึ่งการแจงหน่วย หรือ quantization (ของพลังงาน) ถูกเปิดเผยเป็นครั้งแรก ค่าของเลขอโวกาโดร (the Avogadro-Loschmidt number) , จำนวนของโมเลกุลในโมล (mole) และหน่วยของประจุไฟฟ้า มีความถูกต้องมากขึ้นหลังจากนั้นจนถึงปัจจุบัน

ควอนตัม เอนแทงเกิลเมนต์

ควอนตัม เอนแทงเกิลเมนต์ ครั้งหนึ่งเคยถูกมองเป็นเรื่องซับซ้อนและลึกลับเกินกว่าจะเป็นจริงได้ มาปัจจุบันกำลังกลายเป็นเรื่องที่ตื่นเต้นมาก และมีแนวโน้มจะเป็นหนึ่งในหลักการสำคัญของเทคโนโลยีแห่งศตวรรษที่ 21 อนุภาคที่พัวพันกัน กำลังจะถูกใช้ในการสร้างระบบการสื่อสารที่เป็นความลับ อาจเป็นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ควอนตัมความเร็วสูงพิเศษ และแม้แต่เครื่อง "Teleportation" ในสไตล์ของภาพยนตร์ชุดสตาร์เทรค นักทฤษฎีในปัจจุบันคิดว่า เอนแทงเกิลเมนต์อาจเป็นปรากฏการณ์ค่อนข้างทั่วไปในธรรมชาติ ความคิดที่นำมาสู่ความเป็นไปได้ว่า เรากำลังอาศัยอยู่ในใยคอสมิกจริงๆ ที่เชื่อมโยงถึงกันและกัน ข้ามมิติของตำแหน่งและเวลา

อ้างอิง

  • Speakable and unspeakable in Quantum mechanics by John Bell (Cambridge UP, 1989)
  • Quantum: A guide for the perplexed by Jim Al-Khalili ( Weidenfeld & Nicolson, 2003)
  • 25 ความคิดพลิกโลก (วี.วิชช์.สำน้กพิมพ์, 2551)

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA