ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทีมิส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: nl:Themis (mythologie)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
{{ใช้ปีคศ|width=260px}}
[[ไฟล์:0029MAN-Themis.jpg|thumb|right|260px|เธมิส]]
[[ไฟล์:0029MAN-Themis.jpg|thumb|right|260px|เธมิส]]
'''เทพีเธมิส''' ({{lang-en|Themis}}) เป็นเทพีในตำนานเทพปกรณัมกรีกที่ได้รับการบรรยายว่าเป็นเทพีผู้ "ให้การปรึกษาที่ดี" และเป็นเทพีแห่งความมีกฎมีระเบียบ, กฎหมาย และจารีตประเพณี “Themis” แปลว่า “กฎของธรรมชาติ” ที่ตรงกันข้ามกับกฎที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือตามตัวก็ว่า “ข้อที่ตั้งไว้” (that which is put in place) ที่มาจากคำกิริยา “τίθημι” ที่แปลว่า “วาง หรือ ตั้ง” (to put) ตามความเชื่อของกรีกเธมิสเป็นผู้จัดระบบของ “กิจการสังคมของมนุษย์โดยเฉพาะการมาชุมนุมกัน”<ref>[http://lib.law.washington.edu/ref/themis.html (University of Washington School of Law) Themis, Goddess of Justice]</ref> ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาคลาสสิค[[โมเสส ไอ. ฟินลีย์]] (Moses I. Finley) ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า “Themis” ซึ่งเป็นคำที่ใช้โดย[[โฮเมอร์]]ในศตวรรษที่ 8 ว่าเป็นคำที่ทำให้เกิดความมีระเบียบของสังคมใน[[ยุคมืดกรีก]] (Greek Dark Ages) ในศตวรรษที่ 10 และ 9 ก่อนคริสต์ศักราช:
'''เทพีเธมิส''' ({{lang-en|Themis}}) เป็นเทพีในตำนานเทพปกรณัมกรีกที่ได้รับการบรรยายว่าเป็นเทพีผู้ "ให้การปรึกษาที่ดี" และเป็นเทพีแห่งความมีกฎมีระเบียบ, กฎหมาย และจารีตประเพณี “Themis” แปลว่า “กฎของธรรมชาติ” ที่ตรงกันข้ามกับกฎที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือตามตัวก็ว่า “ข้อที่ตั้งไว้” (that which is put in place) ที่มาจากคำกิริยา “τίθημι” ที่แปลว่า “วาง หรือ ตั้ง” (to put) ตามความเชื่อของกรีกเธมิสเป็นผู้จัดระบบของ “กิจการสังคมของมนุษย์โดยเฉพาะการมาชุมนุมกัน”<ref>[http://lib.law.washington.edu/ref/themis.html (University of Washington School of Law) Themis, Goddess of Justice]</ref> ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาคลาสสิก[[โมเสส ไอ. ฟินลีย์]] (Moses I. Finley) ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า “Themis” ซึ่งเป็นคำที่ใช้โดย[[โฮเมอร์]]ในศตวรรษที่ 8 ว่าเป็นคำที่ทำให้เกิดความมีระเบียบของสังคมใน[[ยุคมืดกรีก]] (Greek Dark Ages) ในศตวรรษที่ 10 และ 9 ก่อนคริสต์ศักราช:
<blockquote>“เธมิส” เป็นคำที่แปลไม่ได้ [เธมิส]คือสิ่งที่ได้รับการประทานจากพระเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของความมีวัฒนธรรม บางครั้งหมายถึงวัฒนธรรมอันถูกต้อง, กระบวนการอันเหมาะสม, ความมีระบบของสังคม และบางครั้งก็เพียงพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น (เช่นที่เห็นได้จากนิมิตร้าย (omen) เป็นต้น) ที่แทบจะไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้อง<ref>Finley, ''The World of Odysseus'', rev. ed.(New York: Viking Prewss) 1978: 78, note.</ref></blockquote>
<blockquote>“เธมิส” เป็นคำที่แปลไม่ได้ [เธมิส]คือสิ่งที่ได้รับการประทานจากพระเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของความมีวัฒนธรรม บางครั้งหมายถึงวัฒนธรรมอันถูกต้อง, กระบวนการอันเหมาะสม, ความมีระบบของสังคม และบางครั้งก็เพียงพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น (เช่นที่เห็นได้จากนิมิตร้าย (omen) เป็นต้น) ที่แทบจะไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้อง<ref>Finley, ''The World of Odysseus'', rev. ed.(New York: Viking Prewss) 1978: 78, note.</ref></blockquote>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:38, 9 กันยายน 2555

เธมิส

เทพีเธมิส (อังกฤษ: Themis) เป็นเทพีในตำนานเทพปกรณัมกรีกที่ได้รับการบรรยายว่าเป็นเทพีผู้ "ให้การปรึกษาที่ดี" และเป็นเทพีแห่งความมีกฎมีระเบียบ, กฎหมาย และจารีตประเพณี “Themis” แปลว่า “กฎของธรรมชาติ” ที่ตรงกันข้ามกับกฎที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือตามตัวก็ว่า “ข้อที่ตั้งไว้” (that which is put in place) ที่มาจากคำกิริยา “τίθημι” ที่แปลว่า “วาง หรือ ตั้ง” (to put) ตามความเชื่อของกรีกเธมิสเป็นผู้จัดระบบของ “กิจการสังคมของมนุษย์โดยเฉพาะการมาชุมนุมกัน”[1] ผู้เชี่ยวชาญสาขาวิชาคลาสสิกโมเสส ไอ. ฟินลีย์ (Moses I. Finley) ตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับคำว่า “Themis” ซึ่งเป็นคำที่ใช้โดยโฮเมอร์ในศตวรรษที่ 8 ว่าเป็นคำที่ทำให้เกิดความมีระเบียบของสังคมในยุคมืดกรีก (Greek Dark Ages) ในศตวรรษที่ 10 และ 9 ก่อนคริสต์ศักราช:

“เธมิส” เป็นคำที่แปลไม่ได้ [เธมิส]คือสิ่งที่ได้รับการประทานจากพระเจ้าและเป็นสัญลักษณ์ของความมีวัฒนธรรม บางครั้งหมายถึงวัฒนธรรมอันถูกต้อง, กระบวนการอันเหมาะสม, ความมีระบบของสังคม และบางครั้งก็เพียงพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น (เช่นที่เห็นได้จากนิมิตร้าย (omen) เป็นต้น) ที่แทบจะไม่มีส่วนใดที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้อง[2]

ฟินลีย์กล่าวต่อไปว่า ““เธมิส” ปรากฏในประเพณี, ธรรมเนียมพื้นบ้าน หรือ “mores” ที่ไม่ว่าจะใช้คำใดก็ตามต่างก็หมายถึงพลังอันยิ่งใหญ่ของสิ่งที่กระทำหรือไม่กระทำ โลกของโอดีสซุซเป็นโลกที่มีความเชื่อที่วิวัฒนาการมาแล้วอย่างลึกซึ้งถึงสิ่งใดที่เหมาะและที่ควร”[3]

อ้างอิง

  1. (University of Washington School of Law) Themis, Goddess of Justice
  2. Finley, The World of Odysseus, rev. ed.(New York: Viking Prewss) 1978: 78, note.
  3. Finley, op. cit. p. 82.