ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทลส์รันเนอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shinestar1 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 125: บรรทัด 125:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
Toxic player = whitecaptain หัวกิลด์ legendrayz ให้คนอื่นแข่งแทนจนได้เข้ารอบออฟไลน์trtc 2018


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:31, 23 ตุลาคม 2562

เทลส์รันเนอร์
ผู้พัฒนาKorea RHAON
ผู้จัดจำหน่ายเกาหลีใต้NOWCOM (2005-2013)
เกาหลีใต้afreecaTV (2013–2014)
เกาหลีใต้Smilegate (2014)
ญี่ปุ่นNEETS (2006–2007)
ญี่ปุ่นRHAON (2010–2011)
ไต้หวันFuntown (2006-2015)
ฮ่องกงมาเก๊าFunTown (2006)
จีนShanda (2007-2016)
ไทยTOT (2007-2016)
ไทยAsiasoft (2016)
สหรัฐgPotato (2008–2011)
แคนาดาOGPLANET (2014)
สิงคโปร์WinnerHub (2013-2015)
เวียดนามSGame (2013-2015)
อินโดนีเซียKREON (2014-2016)
อินโดนีเซียGarena (2017)
สเปนTexyon Games (2014-2016)
เครื่องเล่นไมโครซอฟท์ วินโดวส์ XP 7 8 8.1 8.2 และล่าสุดได้รองรับ Windows 10 เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2558
แนวเกมแข่งขัน เกมแคชชวล แฟนตาซี
รูปแบบ

เทลส์รันเนอร์ (อังกฤษ: TalesRunner, เกาหลี: 테일즈런너, ญี่ปุ่น: テイルズランナー) คือ เกมออนไลน์หลายผู้เล่น ให้บริการโดยบริษัท Rhaon Entertainment ของเกาหลีใต้ โดยมีบริษัท NOWCOM เป็นตัวแทนเผยแพร่นอกเกาหลีใต้ โดยเทลส์รันเนอร์เปิดให้บริการในหลายประเทศ ได้แก่ ฮ่องกง ไต้หวัน ไทย ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา แคนาดา สิงคโปร์ เวียดนาม อินโดนีเซีย โดยแต่ละประเทศจะมีเซิร์ฟเวอร์เป็นของตนเอง (ไม่สามารถเล่นในเซิร์ฟเวอร์ของประเทศอื่นได้) เทลส์รันเนอร์ มีลักษณะผสมกันของเกมสังคม แฟนตาซีและเกมแข่งขัน ผู้เล่นจะต้องทำการแข่งขันโดยการวิ่ง กระโดด พุ่งชน สกี และปีนข้ามสิ่งกีดขวางซึ่งเป็นเวทมนตร์ในเทพนิยาย ตัวเกมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเทพนิยายตะวันออกและตะวันตกผสมผสานกัน นอกจากนี้ เกมเทลส์รันเนอร์ยังได้รับการตอบรับในหลายประเทศ รวมถึงที่ประเทศฮ่องกง ที่ได้มีการเชิญนางแบบที่มีชื่อเสียงอย่าง หวง จื่อเฟย มาร่วมแต่งคอสเพลย์ในกิจกรรมที่จัดขึ้นใน ค.ศ. 2007 [1]

การให้บริการทั่วโลก

เซิร์ฟเวอร์ ภาษา ประเทศ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
เกาหลี Korean เกาหลีใต้Korea NOWCOM (2005-2013)

afreecaTV (2013–2014)
Smilegate Megaport (2014)

ใช้หมายเลข IP จีน, ฮ่องกง ถ้าเป็น IP นอกเหนือจากประเทศนี้จะถูกบล็อก
ญี่ปุ่น Japanese ญี่ปุ่นJapan NEETS (2006-2007)

RHAON Japan (2010-2011)

NEETS ยุติการให้บริการแล้วในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2550

RHAON Japan ยุติการให้บริการแล้วในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ไต้หวัน Traditional Chinese ไต้หวันTaiwan FunTown (2007-2015) ปิดให้บริการและนำเชิฟเวอร์ไปรวมกับเชิฟเวอร์ฮ่องกง
ฮ่องกง/มาเก๊า Traditional Chinese ฮ่องกงHong Kong SAR

มาเก๊าMacau SAR

Funtown ใช้ Internet Explorerในการล็อกอิน
จีน Simplified Chinese จีนChina Shanda (2007-2016)

QIQU (2016)

Shanda ได้เปลี่ยนผู้ให้บริการเป็น QIQU ในวันที่ 20 พฤษภาคม 2016
QIQU ได้เปิดให้บริการในวันที่ 24 พฤษภาคม 2559
ไทย Thai ไทยThailand TOT (2007-2016)

Asiasoft (2016)

PlayPark (2016)

TOT ได้เปลี่ยนผู้ให้บริการเป็น Asiasoft ในวันที่ 1 พฤษภาคม 2559
Asiasoft ได้เปิดให้บริการในวันที่ 6 พฤษภาคม 2559
อเมริกาเหนือ English language|English สหรัฐUSA

แคนาดาCanada

gPotato (2008-2011)

OGPLANET (2014)

ยุติการให้บริการแล้วในวันที่ 21 ธันวาคม 2554

เปิดระบบ CBT ในเวอร์ชันใหม่ ในวันที่ 20 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา

สิงคโปร์ English สิงคโปร์SINGAPORE
WinnerHub (2013-2015)
ยุติการให้บริการแล้วในวันที่ 22 มีนาคม 2558
เวียดนาม Vietnam เวียดนามVietnam
SGame (2013-2015)
ยุติการให้บริการแล้วในวันที่ 24 กันยายน 2558
อินโดนีเซีย Indonesia อินโดนีเซียIndonesia
KREON (2014-2016)

Garena (2017)

KREON เปิดให้บริการ ในวันที่ 8 เมษายน 2557
KREON ประกาศยุติการให้บริการแล้วในวันที่ 31 สิงหาคม 2559
Garena จะเปิดให้บริการในเร็วๆนี้
สเปน Spain สเปนSpain
Texyon Games (2014-2016)
เปิดให้บริการ ในวันที่ 10 มิถุนายน 2557 ที่ผ่านมา
ยุติการให้บริการในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2559

ระบบการเล่น

การวิ่งแข่งเป็นหัวใจหลักของเกมเทลส์รันเนอร์ โดยผู้เล่นจะต้องวิ่งแข่งกันและเมื่อจบการแข่งขัน จะได้รับเงิน ค่าประสบการณ์ การ์ด และไอเทมอื่น ๆ อีก ตัวเกมมีความหลากหลายรูปแบบของแผนที่ที่ใช้วิ่งแข่งกันหลาย ๆ แบบ เช่น ระบบวิ่งฝีกหัด ที่ให้อารมณ์เหมือนผู้เล่นได้ลงไปสัมผัสกับสนามกีฬาจริง ๆ ระบบสนามนิทาน ที่ให้ผู้เล่นลงไปพบกับนิทานที่สนุกสนานที่เคยได้ยินกันมาอย่างยาวนาน (แจ๊คผู้ฆ่ายักษ์, อลิซกับดินแดนมหัศจรรย์ เจ้าหญิงหิมะ เป็นต้น) ระบบสนามบอส และระบบอื่น ๆ อีก เช่น ระบบคำถาม เป็นต้น

ตัวเกมมีระบบห้องเล่นที่ผู้เล่นสามารถเล่นได้คนเดียวไปจนถึง 30 คน สามารถเล่นโหมดวิ่งเดี่ยวหรือวิ่งเป็นทีมก็ได้ และยังมีโหมดพิเศษที่ให้ผู้เล่น 8 คนร่วมมือกันพิชิตบอสอีกด้วย โดยผู้ที่ชนะก็จะได้รับเงิน ค่าประสบการณ์ การ์ด และไอเทมอื่น ๆ

โหมดการแข่งขัน

สบายๆ: วิ่งแข่งเพื่อเข้าเส้นชัย สนาม 8 ผู้เล่นและ 30 ผู้เล่น (เปิดบริการ 24 ชม)
แข่งขัน : กำจัดผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามด้วยการใช้ "ไอเทม" (เปิดบริการ 24 ชม)
ยูนิตี้: เคลื่อนที่ชน Boss (เปิดบริการตามเงื่อนไข)
กิลด์: วิ่งแข่งเพื่อเข้าเส้นชัยในสนามพิเศษหมวด Hard Core (เปิดบริการ 19.00-22.00น.)
สวนสนุก: ไม่มีการแข่งขัน Mini Game (เปิดบริการ 24 ชม)

ตัวละคร

ตัวละครเทลส์รันเนอร์สื่อถึงการรวมกันของหลายบุคคลหลายสัญชาติมาแข่งขันกันคล้ายกับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก โดยแต่ละตัวละครจะมีบุคลิคแตกต่างกันไปตามสัญชาติของตัวละครนั้นๆ

ไอเทม

สิ่งของเหล่านี้จะโผล่ขึ้นแบบสุ่มในฉากระหว่างที่วิ่ง และถ้าตัวละครที่เล่นอยู่ได้รับสิ่งของโดยการชนกับสิ่งนั้น ๆ และสิ่งนั้นจะช่วยตัวละครนั้นในการโจมตีหรือวางกับดักเพื่อขัดขวางผู้เล่นคนอื่น ๆ ซึ่งจะมีอยู่สองรูปแบบหรือที่เรียกว่า ไอเทม 1 และ ไอเทม 2

อ้างอิง

Toxic player = whitecaptain หัวกิลด์ legendrayz ให้คนอื่นแข่งแทนจนได้เข้ารอบออฟไลน์trtc 2018

แหล่งข้อมูลอื่น