ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะลูมิเนียม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพิ่มเนื้อหา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
TemasPri|kemia elemento|[[Brazilo|brazila]] urbo|[[Alumínio (São Paulo)]]}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Informkesto kemia elemento
{{Otheruses|[[元素]]|[[鉱物]]|自然アルミニウム}}
|simbolo=Al
{{元素
|numero=13
|name = aluminium
|nukleona=27
|japanese name = アルミニウム
|nomo=Aluminio
|number = 13
|latine=aluminium
|symbol = Al
|super=[[Boro|B]]
|left = [[マグネシウム]]
|right = [[ケイ素]]
|sub=[[Galiumo|Ga]]
|above = [[ホウ素|B]]
|maldekstre=[[Magnezio|Mg]]
|below = [[ガリウム|Ga]]
|dekstre=[[Silicio|Si]]
|suba tabelo=jes
|series = 貧金属
<!-- ĝeneralaj informoj -->
|series comment =
|kemia grupo=[[Metalo]]j
|group = 13
|RN-CAS=7429-90-5
|period = 3
|grupo=[[elemento de grupo 13|13-a]]
|block = p
|periodo=[[elemento de periodo 3|3]]
|series color =
|bloko=[[p-bloko|p]]
|phase color =
|pezono en terkrusto=7,75
|appearance =
|koncentriteco en marakvo=
|image name = Aluminium-4.jpg
|nombro de naturaj izotopoj=2
|image size =
|dosiero=Aluminium-4.jpg
|image name comment =
|aspekto=arĝent-kolora metalo
|image name 2 = Aluminum Spectra.jpg
<!-- Atomaj ecoj -->
|image name 2 comment = アルミニウムのスペクトル線
|relativa atompezo=26,981538
|atomic mass = 26.9815386
|atomradiuso=125 (118)
|atomic mass 2 = 13
|kovalenta radiuso=121
|atomic mass comment =
|radiuso de van der waals= 184
|electron configuration = &#91;[[ネオン|Ne]]&#93; 3s{{sup|2}} 3p{{sup|1}}
|elektrona konfiguracio=1s<sup>1</sup>
|electrons per shell = 2, 8, 3
|elektronoj en surfacoj=
|color =
|oksidiĝa nombro=
|phase = 固体
<!-- Fizikaj ecoj -->
|phase comment =
|materia stato=[[solido|solidaĵo]]
|density gplstp =
|kristala strukturo=kuba
|density gpcm3nrt = 2.70
|denseco=2,7
|density gpcm3nrt 2 =
|malmoleco=2,75
|density gpcm3mp = 2.375
|magneta konduto=[[paramagnetismo|paramagnetisma]]
|melting point K = 933.47
|melting point C = 660.32
|degelpunkto c=660,32
|degelpunkto k=993,47
|melting point F = 1220.58
|bolpunkto c=2470
|boiling point K = 2792
|bolpunkto k=2743
|boiling point C = 2519
|molarvolumeno=10,00
|boiling point F = 4566
|materia fandopunkto=10,7
|triple point K =
|materia bolpunkto=284
|triple point kPa =
|premo de satura vaporo=
|critical point K =
|rapido de sono=5100
|critical point MPa =
|specifa varmokapacito=897
|heat fusion = 10.71
|elektra konduktivo=37,7 · 10<sup>6</sup>
|heat fusion 2 =
|elektra rezistivo=
|heat vaporization = 294.0
|termika konduktivo=235
|heat capacity = 24.200
<!-- Diversaj -->
|vapor pressure 1 = 1482
|diversaj=jes
|vapor pressure 10 = 1632
|elektroda potencialo=−1,676 V (Al3+ + 3 e− → Al)
|vapor pressure 100 = 1817
|elektronegativeco=1,61
|vapor pressure 1 k = 2054
|brulvarmo je m3=
|vapor pressure 10 k = 2364
|brulvarmo je kg=
|vapor pressure 100 k = 2790
|ioniga energio=
|vapor pressure comment =
|ionta radiuso=
|crystal structure = face-centered cubic
<!-- Izotopoj -->
|japanese crystal structure = [[面心立方格子構造]]
|izotopoj=
|oxidation states = '''3''', 2, 1
{{Informkesto kemia elemento/Nestabila izotopo | A=25 | simbolo=Al
|oxidation states comment = [[両性酸化物]]
| apero= | duoniĝa tempo=7,183 s
|electronegativity = 1.61
| speco=[[elektrona kapto|ε]] | MeV=4,277
|number of ionization energies = 4
| A de produkto=25 | simbolo de produkto=[[magnezio|Mg]]}}
|1st ionization energy = 577.5
{{Informkesto kemia elemento/Nestabila izotopo | A=26 | simbolo=Al
|2nd ionization energy = 1816.7
| apero=malmultege | duoniĝa tempo=7,17 · 10<sup>5</sup> [[jaro|j]]
|3rd ionization energy = 2744.8
| speco=[[elektrona kapto|ε]] | MeV=4,004
|atomic radius = [[1 E-10 m|143]]
| A de produkto=26 | simbolo de produkto=[[magnezio|Mg]]}}
|atomic radius calculated =
{{Informkesto kemia elemento/Stabila izotopo | A=27 | simbolo=Al | apero=100 % | n=14 }}
|covalent radius = [[1 E-10 m|121±4]]
{{Informkesto kemia elemento/Nestabila izotopo | A=28 | simbolo=Al
|Van der Waals radius = [[1 E-10 m|184]]
| apero= | duoniĝa tempo=2,2414 [[minuto|min]]
|magnetic ordering = [[常磁性]]<ref>{{PDF|[https://web.archive.org/web/20040324080747/http://www-d0.fnal.gov/hardware/cal/lvps_info/engineering/elementmagn.pdf Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds]}}(2004年3月24日時点の[[インターネットアーカイブ|アーカイブ]]), in Handbook of Chemistry and Physics 81st edition, CRC press.</ref>
| speco=[[beta disfalo|β<sup>−</sup>]] | MeV=4,642
|electrical resistivity =
| A de produkto=28 | simbolo de produkto=[[Silicio|Si]]}}
|electrical resistivity at 0 =
{{Informkesto kemia elemento/Nestabila izotopo | A=29 | simbolo=Al
|electrical resistivity at 20 = 28.2 n
| apero= | duoniĝa tempo=6,56 [[minuto|min]]
|electrical conductivity = 3.78
| speco=[[beta disfalo|β<sup>−</sup>]] | MeV=3,680
|thermal conductivity = 237
| A de produkto=29 | simbolo de produkto=[[Silicio|Si]]}}
|thermal conductivity 2 =
|thermal diffusivity =
|thermal expansion =
|thermal expansion at 25 = 23.1
|speed of sound =
|speed of sound rod at 20 =
|speed of sound rod at r.t. = (rolled) 5,000
|Young's modulus = 70
|Shear modulus = 26
|Bulk modulus = 76
|Poisson ratio = 0.35
|Mohs hardness = 2.75
|Vickers hardness = 167
|Brinell hardness = 245
|CAS number = 7429-90-5
|isotopes = {{Elementbox_isotopes_decay3
|mn = [[アルミニウム26|26]]
|sym = Al
|na = [[微量放射性同位体|trace]]
|hl = [[1 E13 s|7.17×10{{sup|5}} y]]
|dm1 = [[陽電子放出|β{{sup|+}}]]
|de1 = 1.17
|pn1 = [[マグネシウム26|26]]
|ps1 = [[マグネシウム|Mg]]
|dm2 = [[電子捕獲|ε]]
|de2 = -
|pn2 = [[マグネシウム26|26]]
|ps2 = [[マグネシウム|Mg]]
|dm3 = [[γ崩壊|γ]]
|de3 = 1.8086
|pn3 =
|ps3 = -
}}
}}
'''Aluminio''' estas [[kemia elemento]] de la [[perioda tabelo]] kun la simbolo '''Al''' kaj [[atomnumero]] 13.
{{Elementbox_isotopes_stable

|mn = [[アルミニウム27|27]]
Ĝia [[CAS-numero]] '''7429-90-5'''. Ĝi apartenas al la grupo de [[posttransira metalo|posttransiraj metaloj]].
|sym = Al

|na = 100%
Aluminio estas la plej abunda metalo en la [[tero]]. En la fruaj civilizacioj, la homo konis [[aluno]]n kaj [[alumino]]n aŭ aluminian oksidon (Al<sub>2</sub>O<sub>3</sub>)
|n = 14

}}
|isotopes comment =
}}
'''アルミニウム'''({{lang-la-short|aluminium}}<ref>[http://www.encyclo.co.uk/webster/A/64 WEBSTER'S DICTIONARY, 1913]</ref>、{{lang-en-short|aluminium, aluminum}} {{IPA-en|ˌæljəˈminiəm, əˈl''j''uːmənəm|}})は、[[原子番号]] 13、[[原子量]] 26.98 の[[元素]]である。[[元素記号]]は '''Al'''。日本語では、かつては'''軽銀'''(けいぎん、銀に似た外見をもち軽いことから)や'''礬素'''(ばんそ、[[ミョウバン]](明礬)から)とも呼ばれた<ref>中尾善信、[https://doi.org/10.2464/jilm.28.159 アルミニウムこぼればなし] 軽金属 28巻 (1978) 4号 p.159-160, {{doi|10.2464/jilm.28.159}}</ref>。アルミニウムを'''アルミ'''と略すことも多い。
== คุณสมบัติ ==
== คุณสมบัติ ==
[[ไฟล์:Aluminum Metal coinless.jpg|thumb|left|ชิ้นอะลูมิเนียมยาว 15 cm เทียบขนาดกับเหรียญ[[เซ็นต์]]สหรัฐฯ ]]
[[ไฟล์:Aluminum Metal coinless.jpg|thumb|left|ชิ้นอะลูมิเนียมยาว 15 cm เทียบขนาดกับเหรียญ[[เซ็นต์]]สหรัฐฯ ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:39, 19 ตุลาคม 2561

TemasPri|kemia elemento|brazila urbo|Alumínio (São Paulo)}} แม่แบบ:Informkesto kemia elemento Aluminio estas kemia elemento de la perioda tabelo kun la simbolo Al kaj atomnumero 13.

Ĝia CAS-numero 7429-90-5. Ĝi apartenas al la grupo de posttransiraj metaloj.

Aluminio estas la plej abunda metalo en la tero. En la fruaj civilizacioj, la homo konis alunon kaj aluminon aŭ aluminian oksidon (Al2O3)

คุณสมบัติ

ชิ้นอะลูมิเนียมยาว 15 cm เทียบขนาดกับเหรียญเซ็นต์สหรัฐฯ

อะลูมิเนียมเป็นโลหะที่อ่อนและเบาที่มีลักษณะไม่เป็นเงา เนื่องจากเกิดการออกซิเดชันชั้นบาง ๆ ที่เกิดขึ้นเร็วเมื่อสัมผัสกับอากาศ โลหะอะลูมิเนียมไม่เป็นสารพิษ ไม่เป็นแม่เหล็ก และไม่เกิดประกายไฟ อะลูมิเนียมบริสุทธิ์มีแรงต้านการดึงประมาณ 49 ล้านปาสกาล (MPa) และ 400 MPa ถ้าทำเป็นโลหะผสม อะลูมิเนียมมีความหนาแน่นเป็น 1/3 ของเหล็กกล้าและทองแดง อ่อน สามารถดัดได้ง่าย สามารถกลึงและหล่อแบบได้ง่าย และมีความสามารถต่อต้านการกร่อนและความทนเนื่องจากชั้นออกไซด์ที่ป้องกัน พื้นหน้ากระจกเงาที่เป็นอะลูมิเนียมมีการสะท้อนแสงมากกว่าโลหะอื่น ๆ ในช่วงความยาวคลื่น 200-400 nm (UV) และ 3000-10000 nm (IR ไกล) ส่วนในช่วงที่มองเห็นได้ คือ 400-700 nm โลหะเงินสะท้อนแสงได้ดีกว่าเล็กน้อย และในช่วง 700-3000 (IR ใกล้) โลหะเงิน ทองคำ และทองแดง สะท้อนแสงได้ดีกว่า อะลูมิเนียมเป็นโลหะที่ดัดได้ง่ายเป็นอันดับ 2 (รองจากทองคำ) และอ่อนเป็นอันดับที่ 6 อะลูมิเนียมสามารถนำความร้อนได้ดี จึงเหมาะสมที่จะทำหม้อหุงต้มอาหาร

การประยุกต์

เมื่อวัดในทั้งปริมาณและมูลค่า การใช้อะลูมิเนียมมีมากกว่าโลหะอื่น ๆ ยกเว้นเหล็ก และมีความสำคัญในเศรษฐกิจโลกทุกด้าน

อะลูมิเนียมบริสุทธิ์มีแรงต้านการดึงต่ำ แต่สามารถนำไปผสมกับธาตุต่าง ๆ ได้ง่าย เช่น ทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม แมงกานีส และซิลิกอน (เช่น duralumin) ในปัจจุบันวัสดุเกือบทั้งหมดที่เรียกว่าอะลูมิเนียมเป็นโลหะผสมของอะลูมิเนียม อะลูมิเนียมบริสุทธิ์พบเฉพาะเมื่อต้องการความทนต่อการกัดกร่อนมากกว่าความแข็งแรงและความแข็ง

เมื่อรวมกับกระบวนการทางความร้อนและกลการ (thermo-mechanical processing) โลหะผสมของอะลูมิเนียมมีคุณสมบัติทางกลศาสตร์ที่ดีขึ้น โลหะผสมอะลูมิเนียมเป็นส่วนสำคัญของเครื่องบินและจรวดเนื่องจากมีอัตราความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูง

อะลูมิเนียมสามารถสะท้อนแสงที่มองเห็นได้ดีเยี่ยม (~99%) และสามารถสะท้อนแสงอินฟราเรดได้ดี (~95%) อะลูมิเนียมชั้นบาง ๆ สามารถสร้างบนพื้นผิวเรียบด้วยวิธีการควบแน่นของไอสารเคมี (chemical vapor deposition) หรือวิธีการทางเคมี เพื่อสร้างผิวเคลือบออปติคัล (optical coating) และกระจกเงา ผิวเคลือบเหล่านี้จะเกิดชั้นอะลูมิเนียมออกไซด์ที่บางยิ่งกว่า ที่ไม่สึกกร่อนเหมือนผิวเคลือบเงิน กระจกเงาเกือบทั้งหมดสร้างโดยใช้อะลูมิเนียมชั้นบางบนผิวหลังของแผ่นกระจกลอย (float glass). กระจกเงาในกล้องโทรทรรศน์สร้างด้วยอะลูมิเนียมเช่นกัน แต่เคลือบข้างหน้าเพื่อป้องกันการสะท้อนภายใน การหักเห และการสูญเสียจากความใส กระจกเหล่านี้เรียกว่า first surface mirrors และเกิดความเสียหายได้ง่ายกว่ากระจกเงาตามบ้านทั่วไปที่เคลือบข้างหลัง

ตัวอย่างการนำเอาอะลูมิเนียมไปใช้งาน เช่น

นอกจากนี้ อะลูมิเนียมยังเป็นตัวนำยิ่งยวด ที่อุณหภูมิวิกฤต 1.2 เคลวิน จบ.

แหล่งข้อมูลอื่น

http://www.siamaluminum.org/ เวทีสาธารณะเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีอะลูมิเนียม http://www.aluminum.org/ Aluminum Association สมาคมอะลูมิเนียม ประเทศสหรัฐอเมริกา