ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พาย (ค่าคงตัว)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yedcat (คุย | ส่วนร่วม)
Fixed Typo
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Yedcat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
ค่า π โดยประมาณ 50 ตำแหน่งคือ
ค่า π โดยประมาณ 50 ตำแหน่งคือ


:{{gaps|lhs=π|3.14159|26535|89793|23846|26433|83279|50288|41971|69399|37510|5820974944|5923078164|062|862|0899|8628|0348
:{{gaps|lhs=π|3.14159|26535|89793|23846|26433|83279|50288|41971|69399|37510.....|.....5820974944|5923078164|062|862|0899|8628|0348
...}} {{OEIS|A000796}}
...}} {{OEIS|A000796}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:57, 17 เมษายน 2560

สัญลักษณ์ของพาย

พาย หรือ ไพ (อักษรกรีก: π) เป็นค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ ที่เกิดจากความยาวเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม ค่า π มักใช้ในคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์ และวิศวกรรม π เป็นอักษรกรีกที่ตรงกับตัว "p" ในอักษรละติน มีชื่อว่า "pi" (อ่านว่า พาย ในภาษาอังกฤษ แต่อ่านว่า พี ในภาษากรีก) บางครั้งเรียกว่า ค่าคงตัวของอาร์คิมิดีส (Archimedes' Constant) หรือจำนวนของลูดอล์ฟ (Ludolphine number หรือ Ludolph's Constant)

ในเรขาคณิตแบบยุคลิด π มีนิยามว่าเป็นอัตราส่วนของเส้นรอบวงหารด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม หรือเป็นอัตราส่วนของพื้นที่วงกลม หารด้วย รัศมียกกำลังกำลังสอง ในคณิตศาสตร์ชั้นสูงจะนิยาม π โดยใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น π คือจำนวนบวก x ที่น้อยสุดที่ทำให้ sin (x) = 0

การเกิดค่าพาย

ค่า π โดยประมาณ 50 ตำแหน่งคือ

π = 3.14159265358979323846264338327950288419716939937510..........58209749445923078164062862089986280348

... (ลำดับ OEISA000796)

แม้ว่าค่านี้มีความละเอียดพอที่จะใช้ในงานวิศวกรรมหรือวิทยาศาสตร์แล้ว ปัจจุบันมีการคำนวณค่า π ได้หลายตำแหน่ง ซึ่งหาได้ทั่วไปจากอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยทั่วไปสามารถคำนวณค่า π ได้พันล้านหลัก ขณะที่ซูเปอร์คอมพิวเตอร์คำนวณค่า π ได้เกินล้านล้านหลัก และไม่พบว่ามีรูปแบบที่ซ้ำกันของค่า π ปรากฏอยู่

สูตรที่เกี่ยวข้องกับ π

เรขาคณิต

π มักปรากฏในสูตรที่เกี่ยวกับวงกลมและทรงกลม

รูปร่างทางเรขาคณิต สูตร
เส้นรอบวงของวงกลมที่มีรัศมี r และเส้นผ่านศูนย์กลาง d
พื้นที่ของวงกลมที่มีรัศมี r
พื้นที่ของวงรีที่มีแกนเอก a และแกนโท b
ปริมาตรของทรงกลมที่มีรัศมี r และเส้นผ่านศูนย์กลาง d
พื้นที่ผิวของทรงกลมที่มีรัศมี r
ปริมาตรของทรงกระบอกที่สูง h และรัศมี r
พื้นที่ผิวของทรงกระบอกที่สูง h และรัศมี r
ปริมาตรของกรวยที่สูง h และรัศมี r
พื้นที่ผิวของกรวยที่สูง h และรัศมี r

การวิเคราะห์

หรือเขียนอีกแบบได้เป็น:

เศษส่วนต่อเนื่อง

π เขียนในรูปเศษส่วนต่อเนื่องได้หลายแบบ เช่น

ทฤษฎีจำนวน

ฟิสิกส์

ดูเพิ่ม