ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NY.TAE (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
NY.TAE (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 150: บรรทัด 150:
|align="center"| 290
|align="center"| 290
|{{flagicon|DOM}} [[เดพอร์ติโอ แนชชันแนล]]
|{{flagicon|DOM}} [[เดพอร์ติโอ แนชชันแนล]]
|align="center"| ตัวตบหัวเสา
|align="center"| ตัวเซต
|-style="background:#ffffff"
|-style="background:#ffffff"
|align="center"|'''14'''
|align="center"|'''14'''
บรรทัด 168: บรรทัด 168:
|align="center"| 310
|align="center"| 310
|{{flagicon|DOM}} [[มิราดอร์]]
|{{flagicon|DOM}} [[มิราดอร์]]
|align="center"| บอลกลาง
|align="center"| ตัวตบหัวเสา
|-style="background:#ffffff"
|-style="background:#ffffff"
|align="center"|'''17'''
|align="center"|'''17'''
บรรทัด 177: บรรทัด 177:
|align="center"| 315
|align="center"| 315
|{{flagicon|DOM}} [[ลอส เชอรอส]]
|{{flagicon|DOM}} [[ลอส เชอรอส]]
|align="center"| ตัวตบหัวเสา
|align="center"| ตัวบุกแดนหลัง
|-style="background:#ffffff"
|-style="background:#ffffff"
|align="center"|'''18'''
|align="center"|'''18'''
บรรทัด 195: บรรทัด 195:
|align="center"| 260
|align="center"| 260
|{{flagicon|DOM}} [[ซามานา]]
|{{flagicon|DOM}} [[ซามานา]]
|align="center"| ตัวเซต
|align="center"| ตัวรับอิอิสระ|}
|}


== รางวัล ==
== รางวัล ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:31, 14 พฤษภาคม 2558

สาธารณรัฐโดมินิกัน
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลโดมินิกัน
สมาพันธ์นอร์เซกา
หัวหน้าผู้ฝึกสอนบราซิล มาร์กอส คเวียค[1]
อันดับเอฟไอวีบี11 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน2 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 2004)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับ 5 (2012)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน6 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 1974)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับ 5 (2014)
เวิลด์คัพ
เข้าร่วมแข่งขัน3 สมัย (ครั้งแรกเมื่อ 2003)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับ 8 (2011)
www.fedovoli.org (สเปน)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โตเกียว/ฟุกุโอะกะ 2009 ทีม
แพน-อเมริกันเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ซันโตโดมิงโก 2003 ทีม
อเมริกากลางและแคริบเบียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ปานามา 1946 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ คิงสตัน 1962 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ซัน เซลวาดอร์ 2002 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ คาทาเจนา 2006 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ มายาเกวส 2010 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ มาราไคโบ 1998 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซานจวน 1966 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซันโตโดมิงโก 1974 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มาเดลลินส์ 1978 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฮาวานา 1982 ทีม
ไฟนอล โฟร์ คัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โรซาลิโต 2010 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฟาตาเลซา 2008 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ลิมา 2009 ทีม
แพน-อเมริกันคัพ
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ทิจัวนา 2008 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โรซาริโต 2010 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เม็กซิกาลิ 2002 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ซัลติโล 2003 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ซันโตโดมิงโก 2005 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ไมอามี 2009 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ซิอัวฮัว 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ลิมา 2013 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ทิจัวนา 2004 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซานจวน 2006 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โคลิมา 2007 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา
เหรียญทอง - ชนะเลิศ บายามอน 2009 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ คากัส 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โอมาฮา 2013 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 คากัส 1997 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซันโตโดมิงโก 2001 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ซันโตโดมิงโก 2003 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 พอร์ต ออฟ สเปน 2005 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 วินนี่ปริงส์ 2007 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติรัสเซียกับทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน (สเปน: Selección femenina de voleibol de la República Dominicana) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐโดมินิกันในการแข่งขันวอลเลย์บอล ทีมนี้ได้รับชัยชนะครั้งใหญ่สุดใน ค.ศ. 2003 เมื่อสมาชิกทีมได้เป็นฝ่ายชนะอย่างเหนือความคาดหมายในการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ 2003 ที่ประเทศของพวกเธอเป็นเจ้าภาพเอง[2]

และใน ค.ศ. 2013 ทีมชาติสาธารณรัฐโดมินิกันได้เข้าแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ 2013 โดยได้รับสิทธิ์ไวลด์การ์ด[3]

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
1 แอนเนรัส วิคตอเรีย วากัส วาวเดส 7 สิงหาคม ค.ศ. 1981 196 327 320 สาธารณรัฐโดมินิกัน ซีเลคชัน แนชชันแนล บอลเร็ว
4 มารินเน เฟอร์โซลา นอร์เบอร์โต 16 มกราคม ค.ศ. 1992 191 315 310 สาธารณรัฐโดมินิกัน มิราดอร์ บอลกลาง
5 เบรนดา คาตสิโอ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1992 167 245 230 อาเซอร์ไบจาน ราบิตา บากู ตัวรับอิสระ
7 นิเวอกา ดาเลนนิส มาเต ฟริกา 19 ตุลาคม ค.ศ. 1990 178 295 283 สาธารณรัฐโดมินิกัน เดพอร์ติโอ แนชชันแนล ตัวเซต
8 แคนนิดา เอสเตฟานี อเรียส เปเรส 11 มีนาคม ค.ศ. 1992 194 320 315 สาธารณรัฐโดมินิกัน ซัน คริสโตบอล บอลเร็ว
11 จีโอเซลีนา โรดิเกวส ซันโตส 9 ธันวาคม ค.ศ. 1991 187 325 315 สาธารณรัฐโดมินิกัน มิราดอร์ ตัวตบหัวเสา
12 คาร์ลา มิเกลินา อิกเฮนนิเกล เมดินา 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 180 300 290 สาธารณรัฐโดมินิกัน เดพอร์ติโอ แนชชันแนล ตัวเซต
14 พริซิลา ริเวรา เบรนส์ 29 ธันวาคม ค.ศ. 1984 183 309 305 อาเซอร์ไบจาน โลโกโมทีฟ ตัวตบหัวเสา
16 โยนไครา เปารา เปนา อิสเบล 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 187 320 310 สาธารณรัฐโดมินิกัน มิราดอร์ ตัวตบหัวเสา
17 กินา แอลตากราเซีย เมมบรู คาตซิลา 21 มกราคม ค.ศ. 1986 182 330 315 สาธารณรัฐโดมินิกัน ลอส เชอรอส ตัวบุกแดนหลัง
18 เบนเทเนีย เด ลา ครูซ เด เปนา 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 188 330 320 สาธารณรัฐโดมินิกัน เดพอร์ติโอ แนชชันแนล ตัวตบหัวเสา
19 อนา ยอร์กิรา บิเนต สเตเฟน 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 174 280 260 สาธารณรัฐโดมินิกัน ซามานา ตัวรับอิอิสระ|}

รางวัล

โอลิมปิกฤดูร้อน

  • กรีซ 2004 – อันดับที่ 11
  • จีน 2008 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร 2012 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

  • สหภาพโซเวียต 1978 : อันดับที่ 19
  • ญี่ปุ่น 1998 : อันดับที่ 12
  • เยอรมนี 2002 : อันดับที่ 13
  • ญี่ปุ่น 2006 : อันดับที่ 17
  • ญี่ปุ่น 2010 : อันดับที่ 17
  • อิตาลี 2014 : อันดับที่ 5

เวิลด์คัพ

  • ญี่ปุ่น 2003 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2007 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2011 : อันดับที่ 8

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ

  • ญี่ปุ่น 2009 : เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 6

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์

  • อิตาลี 2004 : อันดับที่ 12
  • ญี่ปุ่น 2005 : อันดับที่ 11
  • อิตาลี 2006 : อันดับที่ 8
  • จีน 2007 : อันดับที่ 11
  • ญี่ปุ่น 2008 : อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2009 : อันดับที่ 11
  • จีน 2010 : อันดับที่ 8
  • มาเก๊า 2011 : อันดับที่ 12
  • จีน 2012 : อันดับที่ 12
  • ญี่ปุ่น 2013 : อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2014 : อันดับที่ 13
  • สหรัฐ 2015 :

แพน-อเมริกันเกมส์

  • เม็กซิโก 1955 : อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 1979 : อันดับที่ 7
  • แคนาดา 1999 : อันดับที่ 4
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 : เหรียญทอง
  • บราซิล 2007 : อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 2011 : อันดับที่ 4

แพน-อเมริกันคัพ

  • เม็กซิโก 2002 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2003 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2004 : เหรียญทองแดง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2005 : เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 2006 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2007 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2008 : เหรียญทอง
  • สหรัฐ 2009 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2010 : เหรียญทอง
  • เม็กซิโก 2011 : เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2012 : อันดับที่ 4
  • เปรู 2013 : เหรียญเงิน

ไฟนอล โฟร์ คัพ

  • บราซิล 2008 : เหรียญเงิน
  • เปรู 2009 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 2010 : เหรียญทอง

วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา

  • ปวยร์โตรีโก 1989 : อันดับที่ 5
  • แคนาดา 1991 : อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 1993 : อันดับที่ 6
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1995 : อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 1997 : เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 1999 : อันดับที่ 4
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2001 : เหรียญทองแดง
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 : เหรียญทองแดง
  • ตรินิแดดและโตเบโก 2005 : เหรียญทองแดง
  • แคนาดา 2007 : เหรียญทองแดง
  • ปวยร์โตรีโก 2009 : เหรียญทอง
  • ปวยร์โตรีโก 2011 : เหรียญเงิน
  • สหรัฐ 2013 : เหรียญเงิน

อ้างอิง

  1. วอลเลย์บอลไทย: เจาะข่าวลูกยางโลก
  2. FIVB. "Dominican Republic wins Pan Am gold in five-set thriller". สืบค้นเมื่อ 2010-01-25.
  3. "Dominicana se lleva el Wild Card (Dominicana takes the Wild Card)" (ภาษาSpanish). Voleibol.pe.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น