ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชูษี เชิญยิ้ม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ใคร|date=สิงหาคม 2020}}
{{ใคร|date=สิงหาคม 2020}}
'''ชูษี เชิญยิ้ม''' ชื่อเดิม '''ชำนาญ ไชยเสนา''' มีชื่อจริงคือ นายชิติสรรค์ ไชยเสนา เกิดวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2502 เป็นนักแสดงตลก นักแสดง ในคณะตลก[[เชิญยิ้ม]]
'''ชูษี เชิญยิ้ม''' ชื่อเดิม '''ชำนาญ ไชยเสนา''' มีชื่อจริงคือ นายชิติสรรค์ นะมามิกุ๊กกิ๊ก​ปลุกปุ๊กปุ๊ก เกิดวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2502 เป็นนักแสดงตลก นักแสดง ในคณะตลก[[เชิญยิ้ม]]
{{กล่องข้อมูล นักแสดง
{{กล่องข้อมูล นักแสดง
| name = ชูษี เชิญยิ้ม
| name = ชูษี เชิญยิ้ม
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| imagesize =
| imagesize =
| caption =
| caption =
| birthname = ชำนาญ ไชยเสนา<br>ชิติสรรค์ ไชยเสนา
| birthname = ชำนาญ ไชยเสนา<br>ชิติสรรค์ นะมามิกุ๊กกิ๊ก​ปลุกปุ๊กปุ๊ก​
| nickname =
| nickname =
| birthdate = {{วันเกิด-อายุ|2502|8|13}}<br>[[จังหวัดลพบุรี]]<br>[[ประเทศไทย]]
| birthdate = {{วันเกิด-อายุ|2502|8|13}}<br>[[จังหวัดลพบุรี]]<br>[[ประเทศไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:06, 19 ตุลาคม 2566

ชูษี เชิญยิ้ม ชื่อเดิม ชำนาญ ไชยเสนา มีชื่อจริงคือ นายชิติสรรค์ นะมามิกุ๊กกิ๊ก​ปลุกปุ๊กปุ๊ก เกิดวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2502 เป็นนักแสดงตลก นักแสดง ในคณะตลกเชิญยิ้ม

ชูษี เชิญยิ้ม
เกิด13 สิงหาคม พ.ศ. 2502 (64 ปี)
จังหวัดลพบุรี
ประเทศไทย
ชำนาญ ไชยเสนา
ชิติสรรค์ นะมามิกุ๊กกิ๊ก​ปลุกปุ๊กปุ๊ก​
คู่สมรสนก เชิญยิ้ม
บุตรนางสาวชญาภา พงศ์สุภาชาคริต ชื่อเล่น บูม
อาชีพนักแสดง นักแสดงตลก นักร้อง
ผลงานเด่นเล่าอู - โก๊ะจ๋าป๋านะโก๊ะ (2549)
ตาสร - เรือนกาหลง (2556)
จ่าโต๊ะ - ชาติ ลำชี (2561)
สัปเหร่อฉุย - เพลงรักเพลงปืน (2562)

ประวัติ

ชูษี เชิญยิ้ม มีชื่อแต่แรกเกิดว่า ชำนาญ ไชยเสนา เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2502 ที่อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี พ่อได้ทิ้งไปตั้งแต่ท้องได้ 3 เดือน แม่ชื่อวิไล ไชยเสนา พอได้ขวบเศษ ๆ แม่จึงมีสามีใหม่ และได้ตั้งชื่อให้ พร้อมให้ใช้นามสกุล ด้วยความเป็นลูกคนโตจึงปากกัดตีนถีบจึง หาเก็บเศษเหล็ก ทองแดง เพื่อซื้อข้าวสาร ซื้อขนมเลี้ยงน้อง หลังจากเรียนจบ ป.4 เพื่อน ๆ จึงชวนไปประกวดร้องเพลง ถ้าชนะจะได้วิทยุ และเอาวิทยุไปขายเพื่อเอาเงินมาเลี้ยงดูน้อง ๆ และไปประกวดร้องเพลงครั้งแรกคือที่ สถานีวิทยุ จทล.(สถานีวิทยุจังหวัดทหารบกลพบุรี) จ.ลพบุรี รายการของ ประจวบ จำปาทอง ปรากฏว่าตกรอบ ด้วยแรงผลักดันของเพื่อนจึงไปประกวดอีกครั้งที่ 2 ของ ป๋า ส.รัตนะ ปรากฏว่าตกรอบอีกเช่นเคยเนื่องจาก เอาเพลงเร็วไปร้องประกวด ของ สังข์ทอง สีใส เพลง ร้อยทั้งร้อย จึงเสียเปรียบเพลงช้า และไปประกวดอีกเป็นครั้งสุดท้าย คือเวที วศป. (สถานีวิทยุศูนย์การทหารปืนใหญ่) จ.ลพบุรี เจ้าของรายการคือ พร พรนารายณ์ ปรากฏว่าชนะเลิศ ด้วยเพลง รักคนชื่อน้อย ของ เพชร โพธาราม หลังจากประกวดเสร็จ พร พรนารายณ์ จึงชวนไปอยู่ในวง โดยมีนักร้องดังประจำวงคือ สัญญา พรนารายณ์ นํ้าอ้อย พรวิเชียร โรจน์ เมืองลพ ศักดา ฟ้าอุทัย แวว มยุรา มิตร เมืองจันทร์ คมศร พรสุราษฏ์ หลังจากแสดงเสร็จ ชู ษียิ้ม ได้ไปประจำอยู่สำนักงานวง พร พรนารายณ์ ปัดกวาดเช็ดถูร่วม 2 เดือน และตั้งชื่อให้ว่า ศักดิ์ศรี ศรีเมืองลพ และลาออกไปอยู่วงฉัตรทอง มงคลทอง อยู่ได้ 7 เดือน แล้วจนได้มาอยู่วงสายัณห์ สัญญาในตำแหน่งนักร้องและมือกลองในคณะ เรื่อยมาจากการเป็นมือกลองหน้าเวทีก็ซึมซับการเล่นตลกหน้าเวทีของบรรดาตลกในวง ก็ทำให้สามารถจำทุกมุกและร่วมเล่นหน้าเวทีด้วยบางคราว อาทิ จุ๋มจิ๋ม เข็มเล็ก และได้ลาออกจากวงสายัณห์ สัญญา มาอยู่วง ศรชัย เมฆวิเชียร ในตำแหน่งตลกอย่างเต็มตัวร่วมเล่นกับ ยอด นครนายก เล่นได้สักพักได้ลาออกมาเล่นตามคาเฟ่และเล่นเป็นคณะแรกคือคณะจันทร์จ๋า ต่อมาก็มาอยู่กับคณะหอมหวล และ คณะลำโพง จนได้มาเล่นอยู่กับคณะเชิญยิ้ม ยุคอวกาศ จนเชิญยิ้มแยกย้าย ชูษีจึงไปอยู่กับสีหนุ่ม อยู่ได้สักพักก็ลา ออกมาตั้งคณะของตัวเอง มีสมาชิกคือ เท่ง เถิดเทิง โหน่ง ชะชะช่า นุ้ย เชิญยิ้ม ต่อมา เปี๊ยก ปากน้ำโพธิ์ได้ชวนไปอยู่คณะเทพ โพธิ์งามอยู่ได้ประมาณ 2 เดือนจึงลาออกเนื่องจากไม่ทันมุกของป๋าเทพ จึงไปอยู่กับโน้ต เชิญยิ้ม ปรากฏว่าเข้าขากันดีเป็นอย่างมาก ต่อมาได้ลาออกไปตั้งคณะกับถั่วแระ เชิญยิ้ม ใช้ชื่อว่า ถั่วแระชูษี เชิญยิ้ม

ปัจจุบันเป็นเจ้าของคณะรำวง ชูษียิ้ม คอมโบ้ และเปิดช่องยูทูปชื่อ ชูษียิ้ม คอมโบ้ เพื่อโปรโมทผลงานเพลงของตนเองโดยใช้ชื่อในวงการว่า ชู ษียิ้ม

ผลงานเพลง

  • พระราชบิดา (พ.ศ. 2559-ใช้ชื่อชู ษียิ้มอย่างเป็นทางการ) เพลงถวายความอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
  • กราบหลวงปู่โต (พ.ศ. 2559-เริ่มปรับเปลี่ยนมาใช้ชื่อชู ษียิ้ม)
  • นับสามก็จบ (พ.ศ. 2559-เริ่มปรับเปลี่ยนมาใช้ชื่อชู ษียิ้ม)
  • จำใจชั่ว
  • ฝนพรำที่อัมพวา
  • คิดถึงแหม่ม
  • สระบุรีร้องไห้
  • ทรมานพี่ทำไม
  • นางฟ้ายังอาย
  • หนุ่มสลัม
  • พระอินทร์เจ้าข้า
  • ฝนพรำชํ้ารัก (ศักดิ์ศรี ศรีเมืองลพ)
  • เด็กขายหนังสือพิมพ์ (ศักดิ์ศรี ศรีเมืองลพ)
  • วันนี้ต้องฉลอง (ร่วมร้องกับ สามารถ พยัคฆ์อรุณ และ เหลือเฟือ มกจ๊ก) (2563)

ผลงานภาพยนตร์

  • พ.ศ. 2533 ผีแม่ม่าย
  • พ.ศ. 2533 ผีแม่ม่าย 2
  • พ.ศ. 2534 ผีหนีหลุม
  • พ.ศ. 2534 พรายตานี
  • พ.ศ. 2538 แม่ม่ายป้ายแดง
  • พ.ศ. 2545 ผีหัวขาด รับบท หมึก
  • พ.ศ. 2546 คนปีมะ
  • พ.ศ. 2546 หลบผี ผีไม่หลบ
  • พ.ศ. 2546 คนบอ ผีบ้า ป่าช้าแตก
  • พ.ศ. 2546 ช้างเพื่อนแก้ว
  • พ.ศ. 2549 ลูกตลกตกไม่ไกลต้นรับบทเป็น คนขับรถสองแถว
  • พ.ศ. 2549 แซ่บ รับบท มาศ
  • พ.ศ. 2550 บอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม 2 (รับเชิญ)รับบทเป็น คนเช็ดกระจกคอนโด
  • พ.ศ. 2550 เวิ้งปีศาจรับบทเป็น แปลก
  • พ.ศ. 2550 อีส้ม สมหวัง (รับเชิญ)รับบทเป็นผี
  • พ.ศ. 2551 หลวงพี่เท่ง 2 รับบทเป็นหลวงพี่ศรี
  • พ.ศ. 2551 ว้อ...หมาบ้ามหาสนุก รับบทเป็นพยอย
  • พ.ศ. 2553 หลวงพี่เท่ง 3 (รับเชิญ)รับบทเป็นญาติของพระประเสริฐ
  • พ.ศ. 2553 โป๊ะแตก รับบท ชูศรี เชิญยิ้ม
  • พ.ศ. 2558 ๔๐๐ นักรบขุนรองปลัดชู

สมาชิกในคณะ ชูศรี เชิญยิ้ม

  • ถั่วแระ เชิญยิ้ม [ในฐานะหัวหน้าใหญ่ ต่อมาชูศรีได้ออกจากคณะไปมีผลงานละครโทรทัศน์แล้วให้เขาเป็นคนดูแลคณะเมื่อปี พ.ศ. 2545] (พ.ศ. 2542 - 2545)
  • นุ้ย เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2536 - 2538 / 2542 - 2544)
  • โหน่ง เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2536 - 2537)
  • เพียว ดอกมะดัน (พ.ศ. 2536 - 2537) (เสียชีวิต)
  • ตู้ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2535 - 2537)
  • หยอง ลูกหยี (พ.ศ. 2535)
  • ต้น เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2535 - 2537)
  • จ๊ะเอ๋ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2542 - 2544) (เสียชีวิต)
  • โอเลี้ยง เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2543 - 2544)
  • กิ๊ฟ โคกคูน [ตัวเสริม] (พ.ศ. 2544)
  • หน่อย เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2542 - 2544)

ผลงานละคร

ละครโทรทัศน์

ปี เรื่อง ออกอากาศ บทบาท
2542 กองร้อย 501 ช่อง 7
2543 รอยรักรอยอดีต ช่อง 5 ดำ
ปลาร้าทรงเครื่อง ช่อง 3
2544 หงส์ฟ้ากับสมหวัง ช่อง 7 สำลี
กองร้อย 501 ตอน แผ่นดินข้าใครอย่าแตะ ช่อง 7
2547 มนต์รักอสูร ช่อง 3
เสน่ห์จันทร์ ช่อง 5 จ่าสมหมาย
อย่าบังคับข้าให้ใหญ่ ช่อง 3 ประหยัด
คุณแจ๋วกะเพราไก่ คุณชายไข่ดาว ช่อง 7
2549 โก๊ะจ๋า ป๋านะโก๊ะ ช่อง 7 เล่าอู
ใจเดียว ช่อง 7
ภารกิจพิชิตดอกฟ้า ช่อง 7
2550 ผู้กองเจ้าเสน่ห์ ช่อง 3
2551 หมวยอินเตอร์ ช่อง 7
ชุมชนคนรักดี ช่อง 7
ภูตแม่น้ำโขง ช่อง 7 สมัย อ่อนสา
สุดแดนหัวใจ ช่อง 3
เจาะเวลาหาโก๊ะ ช่อง 7 เล่าอู
2552 พยัคฆ์ยี่เก ช่อง 7 หมู่ชื่น
2553 ไฟรักอสูร ช่อง 3 ชูษี
มนต์รักข้าวต้มมัด ช่อง 3 น้าประมวล
พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ช่อง 7 ปกรณ์
สามหัวใจ ช่อง 3 ปกรณ์
บ้านนาคาเฟ่ ช่อง 7 ชู
นักสู้พันธุ์ข้าวเหนียว ช่อง 7 หมู่แย้ม
ตำรวจเหล็ก ช่อง 7 โข่ง
2554 อภินิหารคุณยายทองคำ ช่อง 7 น้าแป๊ว
รักอยู่หนใด ช่อง 7
เพลงรักบ้านนา ช่อง 7 หมอก
มนต์รักแม่น้ำมูล ช่อง 7
2555 หมูแดง ช่อง 3 เฉื่อย
แสบสลับขั้ว ช่อง 7 ป่อง
ทนายสื่อรัก ช่อง 7 เฮียอ๋า
มนต์รักแก้บน ช่อง 7 รับเชิญ
2556 เรือนกาหลง ช่อง 7 ตาสร
นักสู้มหากาฬ ช่อง 7 ไมตรี
2557 แหม่มจ๋า ช่อง 7 น้าเผือก
กุหลาบร้ายของนายตะวัน ช่อง 7
2558 บ้านศิลาแดง ช่อง 7 ลุงเติม
จับกัง ช่อง 7 ลุงแป๊ะ
แม่ดอกรักเร่ ช่อง 7 ฉลอง
2559 ข้ามาคนเดียว ช่อง 7 สัปเหร่อโข่ง
2560 ผักบุ้งกับกุ้งนาง ช่อง 7
มัสยา ช่อง 7 จอน
2561 คุณชายไก่โต้ง ช่อง 7 เฮียมืด
ชาติ ลำชี ช่อง 7 จ่าโต๊ะ
2562 เพลงรักเพลงปืน ช่อง 7 สัปเหร่อฉุย / ลุงฉุย
ตะกรุดโทน ช่อง 7 เหล่าอู ปากพนัง (ดำ) (รับเชิญ)
2563 คนเหนือฅน ช่อง 7 อ่องเล (รับเชิญ)
หนี้เกียรติยศ
(หยดน้ำในตะวัน)
ช่อง 7 น้าตาบ
ล่าท้าชน ช่อง 7 อาเกตุ (รับเชิญ)
ปิ่นไพร ช่อง 7 ลุงเพชร
2564 กำนันหญิง ช่อง 7 นายเหว่
ทะเลเดือด ช่อง 7 ดาบหมาน
2565 มงกุฎกรรม ช่อง 8 ลุงกล่ำ (รับเชิญ)
แม่ปูเปรี้ยว ช่อง 7 ลุงหมี
2566 ไมโครโฟนม่วนป่วนรัก ช่องวัน อาจารย์หาญ

ละครชุด

ปี พ.ศ. เรื่อง ออกอากาศ บทบาท หมายเหตุ
2551 เซน...สื่อรักสื่อวิญญาณ ตอนที่ 11 ลุงดำ ช่อง 5 ลุงดำ รับเชิญ
2555-2558 ศีล 5 คนกล้าท้าอธรรม ช่อง 5 จ.ส.ต. สมนึก ใฝ่ฝัน หรือ จ่าสมนึก

ซิทคอม

ปี พ.ศ. เรื่อง ออกอากาศ บทบาท หมายเหตุ
2539-2548 ระเบิดเถิดเทิง ช่อง 5 รับเชิญ
2547 เป็นต่อ ตอน ใบขับขี่ ช่อง 3 ครูสอบใบขับขี่ รับเชิญ
2549 หมู่ 7 เด็ดสะระตี่ ช่อง 7 รับเชิญ
2564 รักล้นแผง ช่อง 7

รายการโทรทัศน์

ผลงานเพลง

ผลงานอื่นๆ