ปรัชญาน (โรเวอร์)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปรัชญาน
ปรัชญาน ติดบนแรมป์ของแลนเดอร์ของจันทรยาน~2
ประเภทภารกิจลูนาร์โรเวอร์
ผู้ดำเนินการISRO
ระยะภารกิจ
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตISRO
มวลหลังการลงจอด
  • จันทรยาน-2: 27 kg (60 lb)
  • จันทรยาน-3: 26 kg (57 lb)
ขนาด0.9 × 0.75 × 0.85 m (3.0 × 2.5 × 2.8 ft)
กำลังไฟฟ้า50 W จาก แผงพลังสุริยะ
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น
  • จันทรยาน-2: 22 July 2019 (2019-07-22) 14:43:12 IST (09:13:12 UTC)
  • จันทรยาน-3: 14 July 2023 (2023-07-14) 14:35 IST (09:05 UTC)[1]
จรวดนำส่งLVM3 M1, LVM3 M4
ฐานส่งSDSC ฐานปล่อยที่สอง
ผู้ดำเนินงานISRO
ตำแหน่งปล่อยตัววิกรม
วันที่ปล่อยตัวจันทรยาน-2: ตั้งใจว่า: 7 กันยายน 2019[2]
Result: Never deployed from destroyed lander.[3] จันทรยาน-3: 23 สิงหาคม 2023[4]
ยานสำรวจ ดวงจันทร์
วันที่ลงจอด6 กันยายน 2019, 20:00-21:00 UTC[5]
ตำแหน่งลงจอดพยายามลงจอด: 70.90267°S 22.78110°E [6] (ตามแผน)
ชนเข้ากับพื้นผิวที่ราว 500 เมตร จากจุดที่วางแผนไว้ (ตามจริง)
ระยะทางที่ขับ500 m (1,600 ft) (intended)
 

ปรัชญาน (อักษรโรมัน: Pragyan, จาก ปรัชญา; สันสกฤต: प्रज्ञा, อักษรโรมัน: prajñā, แปลตรงตัว'ปัญญา',[7][8], ออกเสียง)[7][9]) เป็นลูนาร์โรเวอร์ของอินเดีย ที่เป็นส่วนหนึ่งของจันทรยาน-3 ภารกิจดวงจันทร์ที่พัฒนาขึ้นโดยองค์การค้นคว้าอวกาศอินเดีย (ISRO)[10] รุ่นก่อนหน้าของยานนี้เคยส่งไปเป็นส่วนหนึ่งของจันทรยาน-2 เมื่อ 22 กรกฎาคม 2019 แต่ถูกทำลายลงกับแลนเดอร์ วิกรม เมื่อพุ่งชนเข้ากับผิวดวงจันทร์เมื่อ 6 กันยายน[3][11] จันทรยาน-3 พร้อมทั้งแลนเดอร์ วิกรม และโรเวอร์ ปรัชญาน รุ่นใหม่ได้ปล่อยในวันที่ 14 กรกฎาคม 2023[1] และลงจอดสำเร็จใกล้กับขั้วใต้ดวงจันทร์เมื่อ 23 สิงหาคม[12]

ปรัชญาน มีมวลราว 27 kg (60 lb) ขนาด 0.9 × 0.75 × 0.85 m (3.0 × 2.5 × 2.8 ft) และมีกำลัง 50 วัตต์[13] ออกแบบมาเพื่อใช้งานจากพลังแสงอาทิตย์[14][15] ขับเคลื่อนด้วยยหกล้อและตั้งใจว่าเดินทาง 500 เมตร (1,600 ฟุต) บนพื้นผิวดวงจันทร์ ด้วยความเร็ว 1 ซm (0.39 in) ต่อวินาที ในขณะเดียวกันก็ทำการวิเคราะห์ผลตรงจุดนั้นและส่งข้อมูลไปยังแลนเดอร์เพื่อส่งต่อกลับมายังโลก[16][17][18][19][20]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "ISRO to launch moon mission Chandrayaan-3 on July 14. Check details". Hindustan Times. 2023-07-06. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-08. สืบค้นเมื่อ 2023-07-06.
  2. "Live media coverage of the landing of Chandrayaan-2 on lunar surface – ISRO". www.isro.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-02. สืบค้นเมื่อ 2019-09-02.
  3. 3.0 3.1 "Chandrayaan - 2 Latest Update". isro.gov.in. September 7, 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 8, 2019. สืบค้นเมื่อ September 11, 2019.
  4. "Chandrayaan-3 launch on July 14; August 23-24 preferred landing dates". THE TIMES OF INDIA. 6 July 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 August 2023. สืบค้นเมื่อ 7 July 2023.
  5. "Chandrayaan-2 update: Fifth Lunar Orbit Maneuver". Indian Space Research Organisation. September 1, 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 3, 2019. สืบค้นเมื่อ September 1, 2019.
  6. Amitabh, S.; Srinivasan, T. P.; Suresh, K. (2018). Potential Landing Sites for Chandrayaan-2 Lander in Southern Hemisphere of Moon (PDF). 49th Lunar and Planetary Science Conference. 19–23 March 2018. The Woodlands, Texas. Bibcode:2018LPI....49.1975A. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 22 August 2018.
  7. 7.0 7.1 "Chandrayaan-2 Spacecraft". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 July 2019. สืบค้นเมื่อ 24 August 2019. Chandrayaan 2's Rover is a 6-wheeled robotic vehicle named Pragyan, which translates to 'wisdom' in Sanskrit.
  8. Wilson, Horace Hayman (1832). A dictionary in Sanscrit and English. Calcutta: Education Press. p. 561. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-09. สืบค้นเมื่อ 2019-09-01.
  9. Elumalai, V.; Kharge, Mallikarjun (7 Feb 2019). "Chandrayaan – II" (PDF). PIB.nic.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 February 2019. สืบค้นเมื่อ 7 Feb 2019. Lander (Vikram) is undergoing final integration tests. Rover (Pragyan) has completed all tests and waiting for the Vikram readiness to undergo further tests.
  10. "Isro: Chandrayaan-2 launch between July 9 and 16 | India News – Times of India". The Times of India. May 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-18. สืบค้นเมื่อ 2019-05-01.
  11. Vikram lander located on lunar surface, wasn't a soft landing: Isro. เก็บถาวร 2020-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Times of India. 8 September 2019.
  12. "Chandrayaan-3 launch on 14 July, lunar landing on 23 or 24 August". The Hindu (ภาษาIndian English). 2023-07-06. ISSN 0971-751X. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-11. สืบค้นเมื่อ 2023-07-14.
  13. "Launch Kit at a glance - ISRO". www.isro.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-23. สืบค้นเมื่อ 2019-08-05.
  14. "Chandrayaan-2 to Be Launched in January 2019, Says ISRO Chief". Gadgets360. NDTV. Press Trust of India. 29 August 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2018. สืบค้นเมื่อ 29 August 2018.
  15. "ISRO to send first Indian into Space by 2022 as announced by PM, says Dr Jitendra Singh" (Press release). Department of Space. 28 August 2018. สืบค้นเมื่อ 29 August 2018.
  16. "ISRO to Launch Chandrayaan 2 on July 15, Moon Landing by September 7". The Wire. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-13. สืบค้นเมื่อ 2019-06-12.
  17. Singh, Surendra (10 May 2019). "Chandrayaan-2 will carry 14 payloads to moon, no foreign module this time". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-10. สืบค้นเมื่อ 2019-05-11.
  18. "Payloads for Chandrayaan-2 Mission Finalised" (Press release). Indian Space Research Organisation. 30 August 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 4 January 2010.
  19. "Chandrayaan-2 to get closer to moon". The Economic Times. Times News Network. 2 September 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2011.
  20. Ramesh, Sandhya (12 June 2019). "Why Chandrayaan-2 is ISRO's 'most complex mission' so far". ThePrint. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2019. สืบค้นเมื่อ 12 June 2019.