บันดาอาเจะฮ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บันดาอาเจะฮ์
นครบันดาอาเจะฮ์
Kota Banda Aceh
การถอดเสียงอักษรอื่น
 • จาวอเวอكوتا بند اچيه
อนุสรณ์สถานสึนามิมหาสมุทรอินเดีย ค.ศ. 2004
Kerkhof Peucut
ธงของบันดาอาเจะฮ์
ธง
ตราราชการของบันดาอาเจะฮ์
ตราอาร์ม
สมญา: 
Kota Serambi Mekkah
(ระเบียงมักกะฮ์)
คำขวัญ: 
Saboeh Pakat Tabangun Banda
แผนที่
ที่ตั้งในจังหวัดอาเจะฮ์
บันดาอาเจะฮ์ตั้งอยู่ในเกาะสุมาตรา
บันดาอาเจะฮ์
บันดาอาเจะฮ์
บันดาอาเจะฮ์ตั้งอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย
บันดาอาเจะฮ์
บันดาอาเจะฮ์
บันดาอาเจะฮ์ (ประเทศอินโดนีเซีย)
พิกัด: 5°33′0″N 95°19′3″E / 5.55000°N 95.31750°E / 5.55000; 95.31750พิกัดภูมิศาสตร์: 5°33′0″N 95°19′3″E / 5.55000°N 95.31750°E / 5.55000; 95.31750
ประเทศธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
ภูมิภาคสุมาตรา
จังหวัด จังหวัดอาเจะฮ์
สถาปนา22 เมษายน 1205; 818 ปีก่อน (1205-04-22)
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีอามีนุลละฮ์ อุซมัน
 • รองนายกเทศมนตรีไซนัล อารีฟีน
พื้นที่
 • นคร61.36 ตร.กม. (23.69 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,935.36 ตร.กม. (1,133.35 ตร.ไมล์)
ความสูง0–10 เมตร (0–32.9 ฟุต)
ประชากร
 (ประมาณกลาง ค.ศ. 2022)[1]
 • นคร257,635 คน
 • ความหนาแน่น4,200 คน/ตร.กม. (11,000 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล513,698 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล180 คน/ตร.กม. (450 คน/ตร.ไมล์)
ประชากร
 • กลุ่มชาติพันธุ์อาเจะฮ์
 • ศาสนาอิสลาม 97.09%
พุทธ 1.13%
คริสต์ 0.70%
คาทอลิก 0.19%
ฮินดู 0.02%
อื่น ๆ 0.85% [2]
 • ภาษาอินโดนีเซีย (ทางการ)
อาเจะฮ์ (ภูมิภาค)
เขตเวลาUTC+7 (เวลาอินโดนีเซียตะวันตก)
รหัสไปรษณีย์23000
รหัสพื้นที่(+62) 651
ป้ายทะเบียนยานพาหนะBL XXX AX
BL XXX JX
เอชดีไอ (2022)ลดลง 0.863 (สูงมาก)
เว็บไซต์bandaacehkota.go.id

บันดาอาเจะฮ์ (อินโดนีเซีย: Banda Aceh; อาเจะฮ์: Banda Acèh / بند اچيه) เป็นเมืองหลักและเมืองใหญ่สุดของจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางปลายทิศตะวันตกเฉียงเหนือบนเกาะสุมาตรา บริเวณปากแม่น้ำอาเจะฮ์ มีขนาดพื้นที่ 61.36 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 223,446 คนจากสำมะโน ค.ศ. 2010[3] จากนั้นจึงเพิ่มขึ้นเป็น 252,899 คนในสำมะโน ค.ศ. 2020[4] จำนวนประมาณการอย่างเป็นทางการในช่วงกลาง ค.ศ. 2022 อยู่ที่ 257,635 คน[1]

ในอดีตมีชื่อว่าเมือง กูตาราจา ซึ่งมีความหมายว่า "เมืองพระราชา" ต่อมาเมื่อมีการสถาปนารัฐสุลต่านอาเจะฮ์โดยชาวจามปา จึงเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น บันดาอาเจะฮ์ดารุซซาลัม หรือเรียกโดยย่อว่า บันดาอาเจะฮ์ และต่อมาจึงเป็นเมืองหลักของจังหวัดอาเจะฮ์ในปี ค.ศ. 1956[5]

บันดาอาเจะฮ์เป็นที่รู้จักไปทั่วโลกจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิใน ค.ศ. 2004 บันดาร์อาเจะฮ์เป็นเมืองใหญ่ที่อยู่ใกล้จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวที่อยู่ห่างจากชายฝั่ง 249 กิโลเมตร (155 ไมล์) มากที่สุด[6] ตัวเมืองประสบกับแผ่นดินไหวที่สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงและสึนามิที่ซัดขึ้นมาหลังจากนั้นไม่นานสร้างความเสียหายมากขึ้นอีก ทำให้มีผู้เสียชีวิตในเมืองประมาณ 60,000 คนและบาดเจ็บจำนวนมาก[7][8]

ผลที่ตามมาหลังจากสึนามิทำให้ความขัดแย้งส่วนใหญ่ในเมืองและจังหวัดยุติลง และความช่วยเหลือทั้งภายในและระหว่างประเทศส่งผลให้มีการปรับปรุงและบูรณะเมืองครั้งใหญ่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา[9]

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของบันดาอาเจะฮ์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 34.6
(94.3)
37.0
(98.6)
35.8
(96.4)
36.0
(96.8)
36.6
(97.9)
37.0
(98.6)
39.8
(103.6)
39.0
(102.2)
38.0
(100.4)
36.0
(96.8)
35.4
(95.7)
36.1
(97)
39.8
(103.6)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 27.8
(82)
28.8
(83.8)
31.0
(87.8)
32.0
(89.6)
30.0
(86)
30.3
(86.5)
30.1
(86.2)
30.9
(87.6)
30.1
(86.2)
30.5
(86.9)
28.9
(84)
27.9
(82.2)
29.86
(85.75)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 25.9
(78.6)
26.5
(79.7)
27.3
(81.1)
28.3
(82.9)
27.6
(81.7)
27.9
(82.2)
27.5
(81.5)
28.2
(82.8)
27.4
(81.3)
28.0
(82.4)
26.8
(80.2)
26.2
(79.2)
27.3
(81.14)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 24.1
(75.4)
24.2
(75.6)
23.7
(74.7)
24.6
(76.3)
25.2
(77.4)
25.6
(78.1)
24.9
(76.8)
25.6
(78.1)
24.7
(76.5)
25.5
(77.9)
24.7
(76.5)
24.5
(76.1)
24.78
(76.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 18.0
(64.4)
15.0
(59)
15.6
(60.1)
15.5
(59.9)
13.0
(55.4)
8.0
(46.4)
16.5
(61.7)
11.6
(52.9)
17.8
(64)
14.0
(57.2)
11.4
(52.5)
15.6
(60.1)
8.0
(46.4)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 155
(6.1)
103
(4.06)
109
(4.29)
121
(4.76)
152
(5.98)
90
(3.54)
97
(3.82)
107
(4.21)
161
(6.34)
194
(7.64)
209
(8.23)
236
(9.29)
1,734
(68.27)
แหล่งที่มา: [10][11]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2023.
  2. Data Sensus Penduduk 2010 – Badan Pusat Statistik Republik Indonesia <http://sp2010.bps.go.id/index.php/site/tabel?tid=321&wid=8100000000>
  3. Biro Pusat Statistik, Jakarta, 2011.
  4. Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2021.
  5. รัฐบาลอินโดนีเซีย (25 ตุลาคม 1956). "UU 24/1956, Establishment of Regional Autonomy in the Province of Aceh and Replacement of Regulation about the Establishment of the Province of North Sumatra". Indonesia Ministry of Justice and Law. UU 24/1956. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-30. สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2007 {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)CS1 maint: postscript (ลิงก์)
  6. John Pike, 'Banda Aceh', accessed 23 January 2011.
  7. Jayasuriya, Sisira and Peter McCawley in collaboration with Bhanupong Nidhiprabha, Budy P. Resosudarmo and Dushni Weerakoon, The Asian Tsunami: Aid and Reconstruction After a Disaster, Cheltenham UK and Northampton MA USA: Edward Elgar and Asian Development Bank Institute, 2010.
  8. Jayasuriya and McCawley, ibid.
  9. Lamb, Katie (27 January 2014). "Banda Aceh: where community spirit has gone but peace has lasted". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 6 February 2015.
  10. Climate Banda Aceh Average high, Daily mean, Average low, Average precipitation
  11. Weather and climate in Banda Aceh Record low, Record high (1980–2018)

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]