จามิโรไคว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จามิโรไคว
จามิโรไควกำลังทำการแสดงในงานเทศกาลดนตรีและศิลปะโคเชลลาแวลลีย์เมื่อปี ค.ศ. 2018
ข้อมูลพื้นฐาน
ที่เกิดลอนดอน, อังกฤษ
แนวเพลงฟังก์, เอซิดแจ๊ส, ดิสโก้, ป็อป, ร็อก
ช่วงปีค.ศ. 1992–ปัจจุบัน
ค่ายเพลงAcid Jazz Records
Sony BMG Music Entertainment
Columbia Records
สมาชิกเจย์ เคย์
เดอร์ริค แมคเคนซี
โซลา อคิงโบลา
ร็อบ แฮร์ริส
แมตต์ จอห์นสัน
พอล เทอร์เนอร์
เน็ต วิลเลียมส์
เว็บไซต์www.jamiroquai.com

จามิโรไคว (อังกฤษ: Jamiroquai) เป็นวงจากอังกฤษ ที่ นำโดยนักร้องนำ เจย์ (เจสัน) เคย์ แจ้งเกิดในยุคปฏิวัติทางดนตรีของเอซิดแจ๊ส เมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 จนถึงวันนี้ที่เขาเป็นสัญลักษณ์ของดนตรีฟังก์หัวก้าวหน้า จามิโรไควคือศิลปินอังกฤษที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นมากที่สุดอีกคนหนึ่ง ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วยุโรปไม่ว่าจะเป็นฝรั่งเศส สเปน อิตาลี อเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น รวมทั้งอเมริกาเหนือตลาดดนตรีที่ใหญ่ที่สุดของโลก

การรวมตัวและประวัติของวง[แก้]

ชื่อวง Jamiroquai มาจากการรวมคำ 2 คำคือ jam session (การที่นักดนตรีมาร่วมแจมกับวงดนตรีอื่น ๆ) กับ iroquai (มาจาก Iroquois ซึ่งเป็นชื่อชนเผ่าอินเดียนแดงเผ่าหนึ่ง) มีสมาชิกคนสำคัญของวงคือ Jay Kay ซี่งเป็นทั้งนักร้องนำและผู้เรียบเรียง ส่วนสมาชิกคนอื่น ๆ ในวงมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง โดย Jay Kay เป็นผู้ผลักดันในเกิดวงดนตรีนี้ขึ้นมา หลังจากที่เขาพลาดจากการสมัครเป็นนักร้องให้แก่วง The Brand New Heavies[ต้องการอ้างอิง]

สมาชิกปัจจุบัน[แก้]

  • เจย์ เคย์ (Jay Kay) – ร้องนำ (1992–ปัจจุบัน)
  • เดอร์ริค แมคเคนซี (Derrick McKenzie) – กลอง (1994–ปัจจุบัน)
  • โซลา อคิงโบลา (Sola Akingbola) – เพอร์คัชชัน, ร้องประสาน (1994–ปัจจุบัน)
  • ร็อบ แฮร์ริส (Rob Harris) – กีตาร์ (2000–ปัจจุบัน)
  • แมตต์ จอห์นสัน (Matt Johnson) – คีย์บอร์ด (2002–ปัจจุบัน)
  • พอล เทอร์เนอร์ (Paul Turner) – กีตาร์เบส (2005–ปัจจุบัน)
  • เน็ต วิลเลียมส์ (Nate Williams) – คีย์บอร์ด, กีตาร์ (2017–ปัจจุบัน)

ผลงานอัลบั้ม[แก้]

  • Emergency On Planet Earth (1993)
  • Return Of The Space Cowboy (1994)
  • Travelling Without Moving (1996)
  • Sykronized (1999)
  • A Funk Odyssey (2001)
  • Dynamite (2005)
  • Rock Dust Light Star (2010)
  • Automaton (2017)[1]

อันดับซิงเกิล ในอังกฤษ[แก้]

จากอัลบั้ม Emergency on Planet Earth:

  • "When You Gonna Learn" (1992) #52 UK
  • "Too Young to Die" (1993) #10 UK
  • "Blow Your Mind" (1993) #12 UK
  • "Emergency on Planet Earth" (1993) #32 UK
  • "When You Gonna Learn" (1993 re-release) #28 UK

จากอัลบั้ม The Return of the Space Cowboy:

  • "Space Cowboy" (1994) #17 UK
  • "Half the Man" (1994) #15 UK
  • "Stillness in Time" (1995) #9 UK

เป็นแขกรับเชิญ ให้กับ M-beat

  • "Do You Know Where You're Coming From" (M-Beat featuring Jamiroquai) (1996) #12 UK

จากอัลบั้ม Travelling Without Moving:

  • "Virtual Insanity" (1996) #3 UK
  • "Cosmic Girl" (1996) #6 UK
  • "Alright" (1996) #6 UK
  • "High Times" (1996) #20 UK

จากอัลบั้ม Godzilla Soundtrack/Some editions of Synkronized:

  • "Deeper Underground" (1998) #1 UK

จากอัลบั้ม Synkronized:

  • "Canned Heat" (1999) #4 UK
  • "Supersonic" (1999) #22 UK
  • "King for a Day" (1999) #20 UK

ซิงเกิล:

  • "I'm in the Mood for Love" (with Jools Holland) (2001) #29 UK

จากอัลบั้ม A Funk Odyssey:

  • "Little L" (2001) #5 UK
  • "You Give Me Something" (2001) #16 UK
  • "Love Foolosophy" (2001) #14 UK
  • "Corner of the Earth" (2002) #31 UK
  • "Main Vein" (2002)

จากอัลบั้ม Dynamite:

  • "Feels Just Like It Should" (2005) #8 UK, #1 US (6 สัปดาห์,Dance Music/Club Play)
  • "Seven Days in Sunny June" (2005) #14 UK
  • "(Don't) Give Hate a Chance" (2005) #27 UK

จากอัลบั้ม High Times: Singles 1992-2006:

  • "Runaway" (2006) #18 UK

อ้างอิง[แก้]

  1. "Jamiroquai Jumps Onto Dance/Electronic Albums Charts With 'Automaton'". Billboard. สืบค้นเมื่อ April 14, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]