การทัพหมู่เกาะโวลคาโนและรีวกีว
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
การทัพเกาะโวลคาโนและรีวกีว | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
สองทหารนาวิกโยธินสหรัฐกำลังทำการรุกบนหุบเขาวานาในช่วงยุทธการที่โอกินาวะ. | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร | ญี่ปุ่น | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Chester W. Nimitz ดักลาส แมกอาเธอร์ Holland Smith Simon B. Buckner † Roy Geiger Joseph W. Stilwell Ray Spruance Marc A. Mitscher William Halsey, Jr Sir Bernard Rawlings Sir Philip Vian Bruce Fraser |
Tadamichi Kuribayashi † Mitsuru Ushijima † Isamu Cho † Hiromichi Yahara (เชลย) Seiichi Itō † Minoru Ota † Kosaku Aruga † Keizō Komura | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
27,113 dead or missing, 74,501 wounded, 79 ships sunk and scrapped, 773 aircraft destroyed |
98,811–128,375 dead or missing, 17,000 wounded, 7,216 captured, 21 ships sunk and scrapped, 3,130 aircraft destroyed, 75,000–140,000 civilians dead or missing |
การทัพหมู่เกาะโวลคาโนและรีวกีว เป็นหนึ่งในการสู้รบและเป็นการสู้รบระหว่างกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรและกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นในการทัพมหาสมุทรแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงระหว่างเดือนมกราคมและมิถุนายน ค.ศ. 1945
การทัพครั้งนี้เกิดขึ้นในหมู่เกาะโวลคาโนและรีวกีว การสู้รบบนสองดินแดนหลักในการทัพคือยุทธการที่อิโวะจิมะ(16 กุมภาพันธ์-26 มีนาคม ค.ศ. 1945) และยุทธการที่โอกินาวะ(1 เมษายน - 21 มิถุนายน ค.ศ. 1945) หนึ่งในยุทธนาวีครั้งใหญ่ได้อุบัติขึ้น ซึ่งเรียกว่า ปฏิบัติการเท็งโง(7 เมษายน ค.ศ. 1945) เป็นชื่อปฏิบัติการที่ถูกมอบให้โดยญี่ปุ่น
การทัพครังนี้เป็นส่วนหนึ่งของการทัพญี่ปุ่นของฝ่ายสัมพันธมิตรโดยมีเป้าหมายเพื่อจัดตั้งพื้นที่สำหรับการรุกรานญี่ปุ่น รวมทั้งการสนับสนุนการทิ้งระเบิดทางอากาศและการปิดล้อมทางทะเลต่อญี่ปุ่นแผ่นดินใหญ่ การทิ้งระเบิดปรามณูลงใส่สองเมืองหลักของญี่ปุ่นและตามมาด้วยโซเวียตบุกครองแมนจูเรียที่ญี่ปุ่นยึดครอง อย่างไรก็ตาม, ก็ได้ทำให้รัฐบาลญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะยอมจำนนโดยที่ไม่ต้องให้กองทัพฝ่ายตรงข้ามเข้ามารุกราน