กลีเซอ 667 ซีซี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Gliese 667 Cc
ดาวเคราะห์นอกระบบ รายชื่อ

This artist’s impression shows the view from the exoplanet Gliese 667 Cc
ดาวฤกษ์แม่
ดาวฤกษ์ กลีเซอ 667 ซี
กลุ่มดาว กลุ่มดาวปลากระโทงแทง
ไรต์แอสเซนชัน (α) 17h 18m 57.16483s
เดคลิเนชัน (δ) -34° 59′ 23.1416″
ความส่องสว่างปรากฏ (mV) 11.03
มวล (m) 0.31 M
รัศมี (r) 0.42 R
อุณหภูมิ (T) 3700 K
ความเป็นโลหะ [Fe/H] –0.59 ± 0.10
อายุ 2-10 พันล้านปี
ลักษณะทางกายภาพ
มวล(m)4.39[1] M
รัศมี(r)1.76 [1] R
ฟลักซ์การแผ่รังสีของดาว(F)0.875
องค์ประกอบวงโคจร
กึ่งแกนเอก(a) 0.1251 ± 0.03 AU
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) <0.27
คาบการโคจร(P)28.155 ± 0.017 d
ความเอียง (i) >30°
ครึ่งแอมพลิจูด (K) 1.5 m/s
ข้อมูลการค้นพบ
ค้นพบเมื่อ ค.ศ. 2554 (ดังกล่าว), ค.ศ. 2555 (ประกาศ)
ค้นพบโดย
วิธีตรวจจับ Radial velocity (European Southern Observatory)
สถานะการค้นพบ Published refereed article

กลีเซอ 667 ซีซี (อังกฤษ: Gliese 667 Cc) เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์ กลีเซอ 667 ซี ซึ่งอยู่ในสมาชิกของกลีเซอ 667 ระบบดาวฤกษ์ทริปเปิล มวลต่ำสุดของ กลีเซอ 667 ซีซี มีอยูประมาณ 4.39 มวลโลก[1] อยู่ห่างจากโลก 23.62 ปีแสง

กลีเซอ 667 ซีซี ที่อยู่ในระบบดาวฤกษ์ทริปเปิล ตั้งอยู่ในกลุ่มดาวปลากระโทงแทง อยู่ห่างจากโลกประมาณ 22.7 ปีแสง มีการประกาศครั้งแรกในที่สาธารณะก่อนเผยแพร่ในวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2554 โดยกลุ่มองค์การอวกาศยุโรปของHARPS โดยใช้วิธีการรัศมีความเร็ว (วิธีดอปเลอร์)[2] อย่างไรก็ตาม การประกาศที่รายงานวารสารกรรมการในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012 โดยนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยเกิร์ทธิงเก้น และสถาบันคาร์เนกี สาขาวิทยาศาสตร์[3]

กลีเซอ 667 ซีซี อยู่ในเขตอาศัยได้ และมีโอกาสสูงที่จะค้นพบสิ่งมีชีวิต

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "PHL's Exoplanets Catalog - Planetary Habitability Laboratory @ UPR Arecibo". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-21. สืบค้นเมื่อ 2014-03-03. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "PHL" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  2. European Southern Observatory. Press information: The HARPS search for southern extra-solar planets. 11.24.2554. [1]
  3. University of Göttingen. Presseinformation: Wissenschaftler entdecken möglicherweise bewohnbare Super-Erde - Göttinger Astrophysiker untersucht Planeten in 22 Lichtjahren Entfernung. Nr. 17/2012 - 02.02.2555. Announcement on university homepage, retrieved 2012-02-02

แม่แบบ:Gliese-667 พิกัด: Sky map 17h 18m 57.16483s, −34° 59′ 23.1416″