กรดเบฮินิก
กรดเบฮินิก | |
---|---|
![]() | |
ชื่อตาม IUPAC | Docosanoic acid |
ชื่ออื่น | Behenic acid, Docosanoic acid; 1-Docosanoic acid; n-Docosanoic acid, n-Docosanoate, Glycon B-70, Hydrofol Acid 560, Hydrofol 2022-55, Hystrene 5522, Hystrene 9022, Prifrac 2989, C22:0 (เลขลิพิด) |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [112-85-6][CAS] |
PubChem | |
EC number | |
KEGG | |
ChEBI | |
SMILES | |
InChI | |
ChemSpider ID | |
คุณสมบัติ | |
สูตรโมเลกุล | C22H44O2 |
มวลโมเลกุล | 340.58 g mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ผลึกหรือผงสีขาวถึงเหลือง |
จุดหลอมเหลว |
80.0 °C, 353 K, 176 °F |
จุดเดือด |
306 °C, 579 K, 583 °F |
ความอันตราย | |
NFPA 704 | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
กรดเบฮินิก (อังกฤษ: behenic acid) หรือ กรดโดโคซาโนอิก (docosanoic acid) เป็นกรดคาร์บอกซิลิกและกรดไขมันอิ่มตัว มีสูตรเคมีคือ C21H43COOH เป็นผลึกหรือผงสีขาวถึงเหลือง ละลายในเฮกเซนและคลอโรฟอร์ม[1] พบมากในน้ำมันมะรุม (Moringa oleifera) นอกจากนี้ยังพบในน้ำมันผักกาดก้านขาว, น้ำมันและผิวของถั่วลิสง โดยผิวถั่วลิสง 1 ตัน มีกรดเบฮินิกอยู่ 13 ปอนด์ (5.9 กก.)[2]
คุณสมบัติ[แก้]
กรดเบฮินิกเป็นกรดไขมันอิ่มตัวที่เป็นคอเลสเตอรอล พบได้ในร่างกายมนุษย์[3] มีชีวประสิทธิผลต่ำเมื่อเทียบกับกรดโอเลอิกและดูดซึมได้ไม่ดี[4]
การใช้[แก้]
กรดเบฮินิกใช้เป็นยาบำรุงเส้นผม[2] และเป็นตัวทำละลายในน้ำยาลอกสี สารประกอบเอไมด์ของกรดเบฮินิกใช้เป็นสารลดฟองในผงซักฟอกและน้ำยาทำความสะอาด
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Behenic acid 99% | Sigma-Aldrich
- ↑ 2.0 2.1 USDA Scientists Find Treasure in Peanut Skins Archived 2006-03-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ↑ Caterm, Nilo B and Margo A Denke. January 2001 Behenic acid is a cholesterol-raising saturated fatty acid in humans. American Journal of Clinical Nutrition, v 73, No. 1, pp41-44.
- ↑ Docosanoic acid | Cayman Chem
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- "Behenic acid - MSDS". Safety Data Sheet (Revision 2 ed.). ThermoFisher Scientific. 14 กุมภาพันธ์ 2020.
- "Docosanoic acid - OECD SIDS" (PDF). IPCS INCHEM. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 4 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2015.