ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตุลย์ สิทธิสมวงศ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Looknarm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:Tul_sis1.jpg|thumb|ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์]]
[[ภาพ:Tul_sis1.jpg|thumb|ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์]]
'''ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ตุลย์ สิทธิสมวงศ์''' (เกิดวันที่ [[19 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2508]]) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชา [[สูติศาสตร์]]-[[นรีเวชวิทยา]] หน่วย[[มะเร็ง]][[อวัยวะสืบพันธุ์สตรี]] [[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] มีความชำนาญ ทางด้านมะเร็งวิทยาทางนรีเวช อาจารย์หมอตุลย์เป็นหนึ่งในผู้ประสานงาน[[เครือข่ายจุฬาฯ เชิดชูคุณธรรมนำประชาธิปไตย]] (จคป.) และเคยร่วมขึ้นเวทีร่วมกับกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] เป็นผู้ประสานงานกลุ่มเคลื่อนไหวทาง[[การเมืองภาคประชาชน]]หลายกลุ่ม ในช่วงวิกฤตการเมืองท้ายสมัยรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] เช่น เครือข่ายวิชาการเพื่อประชาธิปไตย(ควป.), เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคม, กลุ่มนักวิชาการเพื่อประชาชน, เครือข่ายสมัชชาประชาชนทั่วประเทศ, กลุ่มนักวิชาการนักธุรกิจและประชาชน, แนวร่วมประชาชนต้านการนิรโทษกรรมฯ, ผู้นำกลุ่มประชาชนผู้รักชาติและความถูกต้อง, ฯลฯ อาจารย์หมอตุลย์ คือผู้ที่รักษา นายอิทธิพล สรวิทย์สกุล ที่บาดเจ็บจากการถูกรุมสหบาทาที่[[เซ็นทรัลเวิลด์]]<ref>กรุงเทพธุรกิจ, [http://www.bangkokbiznews.com/2006/09/18/c009_138217.php?news_id=138217 ข่าวสัมภาษณ์พิเศษ นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ "ป๋าเปรมย้ำปัญหาต้องแก้ที่ต้นตอเท่านั้น"], 16 กันยายน 2549 15:05 น.</ref> เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2549 ในเหตุการปะทะกันของฝ่ายผู้สนับสนุนนายกฯและฝ่ายต่อต้านฯ (''ดูเพิ่ม "[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]"'')
'''ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ตุลย์ สิทธิสมวงศ์''' (เกิดวันที่ [[19 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2508]]) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชา [[สูติศาสตร์]]-[[นรีเวชวิทยา]] หน่วย[[มะเร็ง]][[อวัยวะสืบพันธุ์สตรี]] [[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] มีความชำนาญ ทางด้านมะเร็งวิทยาทางนรีเวช อาจารย์หมอตุลย์เป็นหนึ่งในผู้ประสานงาน[[เครือข่ายจุฬาฯ เชิดชูคุณธรรมนำประชาธิปไตย]] (จคป.) และเคยร่วมขึ้นเวทีร่วมกับกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] เป็นผู้ประสานงานกลุ่มเคลื่อนไหวทาง[[การเมืองภาคประชาชน]]หลายกลุ่ม ในช่วงวิกฤตการเมืองท้ายสมัยรัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] เช่น เครือข่ายวิชาการเพื่อประชาธิปไตย(ควป.), เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคม, กลุ่มนักวิชาการเพื่อประชาชน, เครือข่ายสมัชชาประชาชนทั่วประเทศ, กลุ่มนักวิชาการนักธุรกิจและประชาชน, แนวร่วมประชาชนต้านการนิรโทษกรรมฯ, ผู้นำกลุ่มประชาชนผู้รักชาติและความถูกต้อง, ฯลฯ อาจารย์หมอตุลย์ คือผู้ที่รักษา นายอิทธิพล สรวิทย์สกุล ที่บาดเจ็บจากการถูกรุมสหบาทาที่[[เซ็นทรัลเวิลด์]]<ref>กรุงเทพธุรกิจ, [http://www.bangkokbiznews.com/2006/09/18/c009_138217.php?news_id=138217 ข่าวสัมภาษณ์พิเศษ นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ "ป๋าเปรมย้ำปัญหาต้องแก้ที่ต้นตอเท่านั้น"], 16 กันยายน 2549 15:05 น.</ref> เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2549 ในเหตุการปะทะกันของฝ่ายผู้สนับสนุนนายกฯและฝ่ายต่อต้านฯ (''ดูเพิ่ม "[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี]]"'')

นอกจากนั้น อาจารย์หมอตุลย์ ยังเป็นกรรมาธิการและโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาและส่งเสริมการสร้างคุณธรรมและจริยธรรมแก่นักการเมือง ข้าราชการและประชาชน [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]], กรรมาธิการพิจารณาร่าง พ.ร.บ.[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]]ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, หนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นอกจากนั้น อาจารย์หมอตุลย์ ยังเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เป็นกรรมาธิการและโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาและส่งเสริมการสร้างคุณธรรมและจริยธรรมแก่นักการเมือง ข้าราชการและประชาชน [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]], กรรมาธิการพิจารณาร่าง พ.ร.บ.[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]]ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นผู้นำร่วมกับสภาคณาจารย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการคัดค้าน สนช. ในการผ่านร่าง พ.ร.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ....อย่างเร่งรีบโดยไม่ฟังเสียงประชาคมจุฬาฯ <ref>[http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=148557&NewsType=1&Template=1]หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. '''ประชาคมจุฬาฯยื่น สนช.ค้านออกนอกระบบ'''. วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2550</ref>


อาจารย์หมอตุลย์ ศึกษาในชั้นประถมต้นจนถึงมัธยมต้นที่ [[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] ศึกษามัธยมปลายเพียงปีเดียวที่[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] และสอบเทียบเข้าคณะแพทยศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2524 จนจบ [[แพทยศาสตร์บัณฑิต]] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2530 ได้รับวุฒิบัตรแสดงความรู้หรือความชำนาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรม สาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา [[แพทยสภา]] พ.ศ. 2536, ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางคลินิกสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2534 และบรรจุเป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์เมื่อ ปี พ.ศ. 2538 <ref>[http://cumic.md.chula.ac.th/cgi-bin/directory/view.pl?department=obgyn&code=022 ข้อมูล ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์] จากเว็บไซต์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</ref>
อาจารย์หมอตุลย์ ศึกษาในชั้นประถมต้นจนถึงมัธยมต้นที่ [[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] ศึกษามัธยมปลายเพียงปีเดียวที่[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] และสอบเทียบเข้าคณะแพทยศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2524 จนจบ [[แพทยศาสตร์บัณฑิต]] จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2530 ได้รับวุฒิบัตรแสดงความรู้หรือความชำนาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรม สาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา [[แพทยสภา]] พ.ศ. 2536, ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางคลินิกสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2534 และบรรจุเป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์เมื่อ ปี พ.ศ. 2538 <ref>[http://cumic.md.chula.ac.th/cgi-bin/directory/view.pl?department=obgyn&code=022 ข้อมูล ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์] จากเว็บไซต์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:01, 12 ธันวาคม 2550

ไฟล์:Tul sis1.jpg
ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ (เกิดวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2508) เป็นอาจารย์ประจำภาควิชา สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา หน่วยมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความชำนาญ ทางด้านมะเร็งวิทยาทางนรีเวช อาจารย์หมอตุลย์เป็นหนึ่งในผู้ประสานงานเครือข่ายจุฬาฯ เชิดชูคุณธรรมนำประชาธิปไตย (จคป.) และเคยร่วมขึ้นเวทีร่วมกับกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เป็นผู้ประสานงานกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองภาคประชาชนหลายกลุ่ม ในช่วงวิกฤตการเมืองท้ายสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร เช่น เครือข่ายวิชาการเพื่อประชาธิปไตย(ควป.), เครือข่ายวิชาชีพสุขภาพเพื่อสังคม, กลุ่มนักวิชาการเพื่อประชาชน, เครือข่ายสมัชชาประชาชนทั่วประเทศ, กลุ่มนักวิชาการนักธุรกิจและประชาชน, แนวร่วมประชาชนต้านการนิรโทษกรรมฯ, ผู้นำกลุ่มประชาชนผู้รักชาติและความถูกต้อง, ฯลฯ อาจารย์หมอตุลย์ คือผู้ที่รักษา นายอิทธิพล สรวิทย์สกุล ที่บาดเจ็บจากการถูกรุมสหบาทาที่เซ็นทรัลเวิลด์[1] เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2549 ในเหตุการปะทะกันของฝ่ายผู้สนับสนุนนายกฯและฝ่ายต่อต้านฯ (ดูเพิ่ม "การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี")

นอกจากนั้น อาจารย์หมอตุลย์ ยังเป็นหนึ่งในคณะผู้ก่อตั้งศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เป็นกรรมาธิการและโฆษกคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาและส่งเสริมการสร้างคุณธรรมและจริยธรรมแก่นักการเมือง ข้าราชการและประชาชน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ, กรรมาธิการพิจารณาร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นผู้นำร่วมกับสภาคณาจารย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการคัดค้าน สนช. ในการผ่านร่าง พ.ร.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ....อย่างเร่งรีบโดยไม่ฟังเสียงประชาคมจุฬาฯ [2]

อาจารย์หมอตุลย์ ศึกษาในชั้นประถมต้นจนถึงมัธยมต้นที่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล ศึกษามัธยมปลายเพียงปีเดียวที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และสอบเทียบเข้าคณะแพทยศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2524 จนจบ แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ พ.ศ. 2530 ได้รับวุฒิบัตรแสดงความรู้หรือความชำนาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรม สาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา แพทยสภา พ.ศ. 2536, ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางคลินิกสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2534 และบรรจุเป็นอาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์เมื่อ ปี พ.ศ. 2538 [3]


อ้างอิง

  1. กรุงเทพธุรกิจ, ข่าวสัมภาษณ์พิเศษ นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ "ป๋าเปรมย้ำปัญหาต้องแก้ที่ต้นตอเท่านั้น", 16 กันยายน 2549 15:05 น.
  2. [1]หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. ประชาคมจุฬาฯยื่น สนช.ค้านออกนอกระบบ. วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2550
  3. ข้อมูล ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ จากเว็บไซต์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย