อเมริกากลางเกมส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจ็ดประเทศในอเมริกากลาง

อเมริกากลางเกมส์ (สเปน: Juegos Deportivos Centroamericanos) เป็นมหกรรมกีฬาหลากหลายชนิดของภูมิภาคอเมริกากลาง ซึ่งมีการจัดขึ้นในทุกสี่ปี เริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1973 โดยปกติจัดขึ้นหลังจากโอลิมปิกฤดูร้อน การแข่งขันให้ประเทศในอเมริกากลางที่เป็นสมาชิกขององค์การกีฬาอเมริกากลาง (Organización Deportiva Centroamericana) สามารถเข้าร่วมการแข่งขันได้[1]

การจัดแข่งขัน[แก้]

เมืองเจ้าภาพของอเมริกากลางเกมส์
ปี ครั้งที่ ประเทศเจ้าภาพ
(ได้รับการรับรองจากไอโอซี)
เมืองเจ้าภาพ เปิดโดย วันที่ ชาติเข้าร่วม ชนิดกีฬา นักกีฬา
(คน)
เจ้าเหรียญทอง
1973 I  กัวเตมาลา กัวเตมาลาซิตี อาเลฆันโดร มัลโดนาโด อากีร์เร 24 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม 6 16 966  ปานามา
1977 II  เอลซัลวาดอร์ ซานซัลวาดอร์ การ์โลส อุมเบร์โต โรเมโร 25 พฤศจิกายน – 4 ธันวาคม 5 18 1282  ปานามา
1986 III  กัวเตมาลา กัวเตมาลาซิตี 4–10 มกราคม 5 20 1320  กัวเตมาลา
1990 IV  ฮอนดูรัส เตกูซิกัลปา โฆเซ อัสโกนา 5–14 มกราคม 6 22 2082  กัวเตมาลา
1994 V  เอลซัลวาดอร์ ซานซัลวาดอร์ อาร์มันโด กัลเดรอน โซล 25 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 7 27 2112  เอลซัลวาดอร์
1997 VI  ฮอนดูรัส ซานเปโดรซูลา การ์โลส โรเบร์โต เรย์นา 5–15 ธันวาคม 7 25 2290  เอลซัลวาดอร์
2001 VII  กัวเตมาลา กัวเตมาลาซิตี ฮาร์ริส วิตเบก 22 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 7 29 2182  กัวเตมาลา
2006 VIII  นิการากัว มานากัว เมลิตอน ซานเชซ 2–12 มีนาคม 6 19 1095  นิการากัว
2010 IX  ปานามา ปานามาซิตี ริการ์โด มาร์ติเนลลิ 9–19 เมษายน 6 23 1739  เอลซัลวาดอร์
2013 X  คอสตาริกา ซานโฮเซ เลารา ชินชิยา 3–17 มีนาคม 7 26 2738  กัวเตมาลา
2017 XI  นิการากัว มานากัว ดานิเอล ออร์เตกา 3–17 ธันวาคม 7 27 3500  กัวเตมาลา
2022 XII  เอลซัลวาดอร์ ซานตาเตกลา 5–19 ธันวาคม 7

สรุปเหรียญรางวัลตลอดกาล[แก้]

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 กัวเตมาลา (GUA)5354813821398
2 เอลซัลวาดอร์ (ESA)4633513881202
3 คอสตาริกา (CRC)3423433751060
4 ปานามา (PAN)203235272710
5 นิการากัว (NIC)166230383779
6 ฮอนดูรัส (HON)166225333724
7 เบลีซ (BLZ)11253268
รวม (7 ประเทศ)1886189021655941

กีฬาที่จัดแข่งขัน[แก้]

ตลอดระยะเวลาที่มีการแข่งขันกีฬาอเมริกากลางและแคริบเบียนเกมส์ มีการแข่งขันกีฬาทั้งหมด 26 ชนิด ดังตารางต่อไปนี้

กีฬา ปีที่แข่งขัน
ยิงธนู 2001, 2010
กรีฑา 1973–
แบดมินตัน 1986
เบสบอล 1977–
บาสเกตบอล 1973–
วอลเลย์บอลชายหาด 1997–2001, 2013–
บีเอ็มเอ็กซ์ 2013
เพาะกาย 1990–
โบว์ลิ่ง 1937–
มวยสากล 1973–
กีฬา ค.ศ.ที่แข่งขัน
หมากรุก 1986–2006, 2013
กระโดดน้ำ 1926
ขี่ม้า 1937–2013
ฟันดาบ 1937–
ฟุตบอล 1937–2001, 2013–
ฟุตซอล 2001, 2013
ยิมนาสติก 1977–2001, 2010–2013
แฮนด์บอล 2001, 2010–
ยูโด 1937–
คาราเต้ 1994–2001, 2010–
กีฬา ค.ศ.ที่แข่งขัน
จักรยานเสือภูเขา 2013–
ว่ายน้ำมาราธอน 2013–
แร็กเกตบอล 1990–2013
จักรยานถนน 1937–
โรลเลอร์สเกตความเร็ว 2001, 2013
เรือพาย 1986, 2001, 2010, 2017–
ใบเรือ 1986, 1994
ยิงปืน 1973–2006
ซอฟต์บอล 1973–
สควอช 1994, 2001
กีฬา ค.ศ.ที่แข่งขัน
ว่ายน้ำ 1973–
ระบำใต้น้ำ 2001, 2013
เทเบิลเทนนิส 1973–
เทควันโด 1990–
เทนนิส 1973–2001, 2013–
ไตรกีฬา 1994–
วอลเลย์บอล 1973–2001, 2013–
โปโลน้ำ 1977–2001, 2010
ยกน้ำหนัก 1973–
มวยปล้ำ 1973–

อเมริกากลางพาราเกมส์[แก้]

ปี ครั้งแรก เปิดโดย ประเทศเจ้าภาพ เมืองเจ้าภาพ วันที่ ชาติเข้าร่วม ชนิดกีฬา นักกีฬา
2013 I  คอสตาริกา ซานโฮเซ 13–21 เมษายน 6
2018 II  นิการากัว มานากัว 21–28 มกราคม 7

อ้างอิง[แก้]

  1. Centroamericanos - Resultados en la historia (ภาษาสเปน), masgoles.com, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 19, 2012, สืบค้นเมื่อ August 10, 2012

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]