อำเภอกัวลาเนอรุซ

พิกัด: 5°20′N 103°00′E / 5.333°N 103.000°E / 5.333; 103.000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อำเภอกัวลาเนอรุซ
Daerah Kuala Nerus
การถอดเสียงภาษาอื่น ๆ
 • ยาวีكوالا نيروس
 • จีน瓜拉尼鲁斯县
 • ทมิฬகோலா நெருஸ்
ธงของอำเภอกัวลาเนอรุซ
ธง
ที่ตั้งของ อำเภอกัวลาเนอรุซ ในรัฐตรังกานู
ที่ตั้งของ อำเภอกัวลาเนอรุซ ในรัฐตรังกานู
อำเภอกัวลาเนอรุซตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย
อำเภอกัวลาเนอรุซ
อำเภอกัวลาเนอรุซ
ที่ตั้งของ อำเภอกัวลาเนอรุซ ในประเทศมาเลเซีย
พิกัด: 5°20′N 103°00′E / 5.333°N 103.000°E / 5.333; 103.000
ประเทศธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย
รัฐ รัฐตรังกานู
ศูนย์กลางกัวลาเนอรุซ
รัฐบาลท้องถิ่นสภาเมืองกัวลาเตอเริงกานู
การปกครอง
 • นายอำเภอฮาจี อาริฟฟีน บิน อับดุลเลาะฮ์[1]
พื้นที่[2]
 • ทั้งหมด398.90 ตร.กม. (154.02 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2010)
 • ทั้งหมดN/A คน
 • ประมาณ 
(2014)[3]
173,800 คน
เขตเวลาUTC+8 (MST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+8 (ไม่มี)
รหัสไปรษณีย์213xx
รหัสโทรศัพท์+6-09-6
ป้ายทะเบียนยานพาหนะT

อำเภอกัวลาเนอรุซ (มลายู: Daerah Kuala Nerus) เป็นอำเภอในรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย ซึ่งแยกจากอำเภอกัวลาเตอเริงกานูในปี.ศ. 2014 แต่ยังถูกปกครองโดยสภาเมืองกัวลาเตอเริงกานู โดยมีเมืองกัวลาเนอรุซเป็นเมืองหลวง และมีเมืองกับหมู่บ้านสำคัญหลายแห่ง ได้แก่ กงบาดัก, เซอเบอรังตากีร์, บาตูรากิต และบาตูเออนัม ณ ค.ศ. 2015 มีประชากรอยู่ 226,177 คน และมีพื้นที่ 388 กม2.[4]

ประวัติ[แก้]

อำเภอนี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอกัวลาเตอเริงกานู แล้วค่อยแยกจากกันในวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 2014[5]

ภูมิศาสตร์[แก้]

ชายหาดปาซีร์ปันจังบนเกาะเรอดัง

หมู่เกาะเรอดัง เป็นกลุ่มเกาะที่มีเกาะหลักอยู่สองเกาะที่มีคนอาศัยอยู่ คือเกาะเรอดังกับเกาะปีนัง ส่วนเกาะเล็กอื่น ๆ ไม่มีคนอาศัยอยู่ (เกาะลิง, เกาะเอโกร์เตอบู, เกาะลีมา, เกาะปากู, เกาะปากูเกอจิล, เกาะเกอเริงกา และเกาะเกอเริงกาเกอจิล) หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากกัวลาเตอเริงกานูไป 45 กิโลเมตร โดยตัวเกาะมีปะการังประมาณ 500 สายพันธุ์และปลากับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกกว่าพันชนิด หมู่เกาะนี้ถูกออกแบบเป็นสวนน้ำในปีค.ศ.1994[6] หมู่เกาะเรอดังมีส่วนประกอบของหินแกรนิตกับหินตะกอนที่ถูกแปรสภาพ

แม่น้ำสายหลักของอำเภอนี้ คือแม่น้ำเรอดัง[7][8][9]

เขตการปกครอง[แก้]

กัวลาเนอรุซแบ่งออกเป็น 4 มูกิม ได้แก่:[10]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-20. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-20. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-17. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.
  4. http://www.sinarharian.com.my/mobile/edisi/terengganu/kuala-nerus-diisytihar-daerah-ke-8-terengganu-1.317906
  5. Sean, Ong Han (September 19, 2014). "Kuala Nerus is newest T'ganu district". The Star. สืบค้นเมื่อ 19 September 2014.
  6. "History of Establishment". Department of Marine Park, Malaysia. 30 July 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-04. สืบค้นเมื่อ 10 August 2015.
  7. Joshua B. Fisher; Rizwan Nawaz; Rosmadi Fauzi; Faiza Nawaz; Eran Sadek Said Md Sadek; Zulkiflee Abdul Latif; Matthew Blackett (30 May 2008). "Balancing water, religion and tourism on Redang Island, Malaysia" (PDF). Environmental Change Institute – School of Geography and the Environment – Oxford University, HydroRisk Ltd – Leeds University Union – University of Leeds, Department of Geography University of Malaya, Department of Surveying Science and Geomatics, Universiti Teknologi MARA and Department of Geography, King’s College London. IOP Publishing Ltd. p. 1. doi:10.1088/1748-9326/3/2/024005. สืบค้นเมื่อ 9 April 2015.
  8. "Terengganu". Department of Marine Park Malaysia – Terengganu. 30 July 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 April 2015. สืบค้นเมื่อ 23 March 2015.
  9. Kamal Roslan Mohamed. "Stratigrafi Malaysia – Terengganu" (PDF). UKM Geologist (ภาษามาเลย์). National University of Malaysia. p. 1. สืบค้นเมื่อ 23 March 2015.
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-29. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TKP" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]