ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพประเทศไทย
วันที่8–26 มกราคม พ.ศ. 2563[1]
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 4 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ เกาหลีใต้ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ ซาอุดีอาระเบีย
อันดับที่ 3 ออสเตรเลีย
อันดับที่ 4 อุซเบกิสถาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู69 (2.16 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม93,872 (2,934 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดออสเตรเลีย Nicholas D'Agostino
อิรัก Mohammed Nassif
ไทย เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Zaid Al-Ameri
อุซเบกิสถาน Islom Kobilov (คนละ 3 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเกาหลีใต้ Won Du-jae
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเกาหลีใต้ Song Bum-keun
รางวัลแฟร์เพลย์ ซาอุดีอาระเบีย
2018
2022

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี (หรือ เอเอฟซี ยู-23 เอเชียนคัพ; อังกฤษ: 2020 AFC U-23 Championship) เป็นการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ครั้งที่ 4 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ซึ่งการแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันฟุตบอลแบบจำกัดอายุระดับนานาชาติสำหรับทีมชาติชุดเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปีในทวีปเอเชีย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 8-26 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ แข่งขันกระจายใน 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ปทุมธานี บุรีรัมย์ และสงขลา มี 16 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี เป็นการแข่งขันเพื่อคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนโดย 3 อันดับแรกของการแข่งขันนี้ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ที่ประเทศญี่ปุ่น โดยเป็นตัวแทนของโซนเอเชีย[2] ซึ่งทีมชาติญี่ปุ่น ได้เข้าร่วมการแข่งขันอัตโนมัติเนื่องจากเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 หากทีมชาติญี่ปุ่นเข้าถึงรอบรองชนะเลิศในครั้งนี้ ทีมอื่นๆที่เข้ารอบรองชนะเลิศอีก 3 ทีม จะได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2020 ทั้งหมด[3]

โดยทีมชาติอุซเบกิสถาน เป็นผู้ชนะเลิศในปีล่าสุด

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

ประเทศหลายประเทศซึ่งสนใจเป็นเจ้าภาพเดี่ยวในการแข่งขันนี้ ได้แก่ ประเทศออสเตรเลีย, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศไทย และประเทศเวียดนาม[4][5] โดยประเทศไทยได้รับคัดเลือกเป็นเจ้าภาพในการประชุมคณะกรรมการการแข่งขันของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียที่ โตเกียว เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561[6]

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22–26 มีนาคม พ.ศ. 2562 ตามปฏิทินการแข่งขันนานาชาติฟีฟ่า[7]

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

รายชื่อ 16 ทีมที่เข้ารอบในการแข่งขันรอบสุดท้าย

ทีม เข้ารอบในฐานะ จำนวนครั้งที่เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดที่เคยเข้าร่วมแข่งขัน
 ไทย เจ้าภาพ ครั้งที่ 3 รอบแบ่งกลุ่ม (2016, 2018)
 กาตาร์ ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอ ครั้งที่ 3 อันดับ 3 (2018)
 บาห์เรน ทีมชนะเลิศ กลุ่มบี ครั้งที่ 1 ครั้งแรก
 อิรัก ทีมชนะเลิศ กลุ่มซี ครั้งที่ 4 ชนะเลิศ (2013)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทีมชนะเลิศ กลุ่มดี ครั้งที่ 3 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013, 2016)
 จอร์แดน ทีมชนะเลิศ กลุ่มอี ครั้งที่ 4 อันดับ 3 (2013)
 อุซเบกิสถาน ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอฟ ครั้งที่ 4 ชนะเลิศ (2018)
 เกาหลีเหนือ ทีมชนะเลิศ กลุ่มจี ครั้งที่ 4 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016)
 เกาหลีใต้ ทีมชนะเลิศ กลุ่มเอช ครั้งที่ 4 รองชนะเลิศ (2016)
 ญี่ปุ่น ทีมชนะเลิศ กลุ่มไอ ครั้งที่ 4 ชนะเลิศ (2016)
 จีน ทีมชนะเลิศ กลุ่มเจ ครั้งที่ 4 รอบแบ่งกลุ่ม (2013, 2016, 2018)
 เวียดนาม ทีมชนะเลิศ กลุ่มเค ครั้งที่ 3 รองชนะเลิศ (2018)
 ออสเตรเลีย ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มเอช[note 1] ครั้งที่ 4 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013)
 อิหร่าน ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มซี[note 1] ครั้งที่ 3 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016)
 ซีเรีย ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มอี[note 1] ครั้งที่ 4 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2013)
 ซาอุดีอาระเบีย ทีมรองชนะเลิศ กลุ่มดี[note 1] ครั้งที่ 4 รองชนะเลิศ (2013)

Notes:

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 สี่ทีม ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุด ได้สิทธิ์สำหรับรอบสุดท้าย.

สนามแข่งขัน[แก้]

เบื้องต้นสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เสนอไปจำนวนทั้งหมด 7 สนามทั่วประเทศ สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียเลือกสนามที่จะใช้ในการแข่งขันครั้งนี้จำนวน 4 สนาม ดังนี้[8]

กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี
ราชมังคลากีฬาสถาน สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต
ความจุ : 49,722 ที่นั่ง ความจุ : 20,000 ที่นั่ง
จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสงขลา
ช้างอารีนา สนามกีฬาติณสูลานนท์
ความจุ : 32,600 ที่นั่ง ความจุ : 45,000 ที่นั่ง

การจับสลาก[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2562, 15:00 ICT (UTC+7), ที่โรงแรมสวิสโอเท็ล แบงค็อก รัชดา ใน กรุงเทพมหานคร.[9][10][11] 16 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม. แต่ละทีมเป็นทีมวางตามผลงานประสิทธิภาพของพวกเขาใน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2018 รอบสุดท้าย และ รอบคัดเลือก, กับชาติเจ้าภาพ ประเทศไทย ได้สิทธิ์เป็นทีมวางโดยอัตโนมัติและถูกจัดให้อยู่ในตำแหน่ง A1 ในการจับสลาก[12]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้าย.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, ICT (UTC+7).

ตารางการแข่งขัน
แมตช์เดย์ วันที่แข่งขัน การประกบคู่
แมตช์เดย์ 1 8–10 มกราคม พ.ศ. 2563 1 v 4, 2 v 3
แมตช์เดย์ 2 11–13 มกราคม พ.ศ. 2563 4 v 2, 3 v 1
แมตช์เดย์ 3 14–16 มกราคม พ.ศ. 2563 1 v 2, 3 v 4

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ออสเตรเลีย 3 1 2 0 4 3 +1 5 รอบแพ้คัดออก
2  ไทย (H) 3 1 1 1 7 3 +4 4
3  อิรัก 3 0 3 0 4 4 0 3
4  บาห์เรน 3 0 2 1 3 8 −5 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.

ออสเตรเลีย 2–1 ไทย
D'Agostino Goal 43'76' รายงาน อานนท์ Goal 24'

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ซาอุดีอาระเบีย (A) 3 2 1 0 3 1 +2 7 รอบแพ้คัดออก
2  ซีเรีย (A) 3 1 1 1 4 4 0 4
3  กาตาร์ (E) 3 0 3 0 3 3 0 3
4  ญี่ปุ่น (E) 3 0 1 2 3 5 −2 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.


กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 3 0 0 5 2 +3 9 รอบแพ้คัดออก
2  อุซเบกิสถาน 3 1 1 1 4 3 +1 4
3  อิหร่าน 3 1 1 1 3 3 0 4
4  จีน 3 0 0 3 0 4 −4 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
อุซเบกิสถาน 1–1 อิหร่าน
Kobilov Goal 40' (ลูกโทษ) รายงาน Dehghani Goal 58'
ผู้ชม: 4,180 คน
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Marri (กาตาร์)


จีน 0–1 อิหร่าน
รายงาน Noorafkan Goal 87' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 3,567 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 1 2 0 3 1 +2 5 รอบแพ้คัดออก
2  จอร์แดน 3 1 2 0 3 2 +1 5
3  เกาหลีเหนือ 3 1 0 2 3 5 −2 3
4  เวียดนาม 3 0 2 1 1 2 −1 2
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม


รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมสุดท้ายรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
18 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 
 ออสเตรเลีย
(ต่อเวลา)
1
 
22 มกราคม – ปทุมธานี
 
 ซีเรีย0
 
 ออสเตรเลีย0
 
19 มกราคม – ปทุมธานี
 
 เกาหลีใต้2
 
 เกาหลีใต้2
 
26 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 จอร์แดน1
 
 เกาหลีใต้
(ต่อเวลา)
1
 
18 มกราคม – ปทุมธานี
 
 ซาอุดีอาระเบีย0
 
 ซาอุดีอาระเบีย1
 
22 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 ไทย0
 
 ซาอุดีอาระเบีย1
 
19 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 อุซเบกิสถาน0 นัดชิงอันดับ 3
 
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1
 
25 มกราคม – กรุงเทพมหานคร
 
 อุซเบกิสถาน5
 
 ออสเตรเลีย1
 
 
 อุซเบกิสถาน0
 

รอบ 8 ทีมสุดท้าย[แก้]




รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมชนะเลิศได้สิทธิ์ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020.


นัดชิงอันดับ 3[แก้]

ทีมชนะเลิศได้สิทธิ์ โอลิมปิกฤดูร้อน 2020

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศและรางวัล[แก้]

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020
เกาหลีใต้
เกาหลีใต้
1 สมัย

รางวัล[แก้]

รางวัลด้านล่างนี้ได้รับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน:

ดาวซัลโวสูงสุด[13] ผู้เล่นทรงคุณค่า[14] ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม[13] รางวัลแฟร์เพลย์[13]
ไทย เจริญศักดิ์ วงษ์กรณ์[note 1] เกาหลีใต้ Won Du-jae เกาหลีใต้ Song Bum-keun  ซาอุดีอาระเบีย

ผู้ทำประตู[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 69 ประตูที่ทำได้ใน 32 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 2.16 ประตูต่อนัด

3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • ซีเรีย Yosief Mohammad (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
  • เวียดนาม Bùi Tiến Dũng (ในนัดที่พบกับ เกาหลีเหนือ)

การจัดอันดับแต่ละทีม[แก้]

As per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-outs are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน สรุปผลงานรอบสุดท้าย
1  เกาหลีใต้ 6 6 0 0 10 3 +7 18 ชนะเลิศ
2  ซาอุดีอาระเบีย 6 4 1 1 5 2 +3 13 รองชนะเลิศ
3  ออสเตรเลีย 6 3 2 1 6 5 +1 11 อันดับ 3
4  อุซเบกิสถาน 6 2 1 3 9 6 +3 7 อันดับ 4
5  จอร์แดน 4 1 2 1 4 4 0 5 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4 1 2 1 4 6 −2 5
7  ไทย (H) 4 1 1 2 7 4 +3 4
8  ซีเรีย 4 1 1 2 4 5 −1 4
9  อิหร่าน 3 1 1 1 3 3 0 4 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
10  อิรัก 3 0 3 0 4 4 0 3
11  กาตาร์ 3 0 3 0 3 3 0 3
12  เกาหลีเหนือ 3 1 0 2 3 5 −2 3
13  เวียดนาม 3 0 2 1 1 2 −1 2
14  บาห์เรน 3 0 2 1 3 8 −5 2
15  ญี่ปุ่น 3 0 1 2 3 5 −2 1
16  จีน 3 0 0 3 0 4 −4 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ.

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

สี่ทีมต่อไปนี้ที่มาจากเอเอฟซีได้สิทธิ์สำหรับ การแข่งขันฟุตบอลชายโอลิมปิกฤดูร้อน 2020, ประกอบไปด้วยญี่ปุ่นซึ่งได้สิทธิ์เข้ารอบในฐานะเจ้าภาพ

ทีม วันที่เข้ารอบ จำนวนครั้งที่เข้ารอบที่ผ่านมาใน โอลิมปิกฤดูร้อน1
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 7 กันยายน 2013 10 (1936, 1956, 1964, 1968, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 22 มกราคม 2020[15] 2 (1984, 1996)
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 22 มกราคม 2020[15] 10 (1948, 1964, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 25 มกราคม 2020 2 (2004, 2008)
1 ตัวหนา หมายถึงแชมเปียนส์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงเจ้าภาพสำหรับปีนั้น

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 28 February 2018.
  2. "OC for FIFA Competitions approves procedures for the Final Draw of the 2018 FIFA World Cup". FIFA.com. 14 September 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-24. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
  3. "Competition Regulations AFC U-23 Championship 2020". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-29. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
  4. "Việt Nam plans to host U23 champs in 2020". Việt Nam News. 6 February 2018. สืบค้นเมื่อ 22 May 2018.
  5. Rosdi, Aziman (6 February 2018). "Malaysia to bid for the 2020 AFC Under-23 Championship". New Strait Times. สืบค้นเมื่อ 27 March 2018.
  6. "FA Thailand proposed as 2020 AFC U-23 Championship host". AFC. สืบค้นเมื่อ 30 August 2018.
  7. "AFC Competitions Calendar 2019". 28 February 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-09. สืบค้นเมื่อ 2019-03-13.
  8. แนะส่งมาตรฐานการสร้างสนามฟุตบอลให้ ‘สมาคมสถาปนิกสยาม’ ศึกแนวทางแก้ไขรองรับทัวร์นาเมนต์ใหญ่ในอนาคต
  9. "AFC issues RFP for EMC service for AFC U23 Championship 2020 Final Draw Ceremony". AFC. 29 July 2019. สืบค้นเมื่อ 2 August 2019.
  10. "Stars of tomorrow set for Thailand 2020 draw". AFC. 25 September 2019.
  11. "Thailand 2020: Draw produces exciting groups". AFC. 26 September 2019.
  12. "#AFCU23 Thailand 2020 - Preview Show (Pre Draw)". YouTube. 25 September 2019.
  13. 13.0 13.1 13.2 "Korea Republic's Song named Best Goalkeeper, Thailand's Wonggorn wins Top Scorer Award". AFC. 26 January 2020.
  14. "Korea Republic's Won named Thailand 2020 MVP". AFC. 26 January 2020.
  15. 15.0 15.1 "Korea Republic and Saudi Arabia secure Tokyo 2020 qualification". FIFA.com. 22 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-24. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "note" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="note"/> ที่สอดคล้องกัน