ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซฺยงหนู"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 49: บรรทัด 49:
'''ซฺยงหนู''' ตามสำเนียงกลาง หรือ '''เฮงโน้ว''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ({{zh|c=匈奴|p= Xiōngnú}})<ref>{{Cite book |url=https://books.google.com/books?id=MtkvAQAAIAAJ&q=hiungun+xiongnu |title=Opera omnia |isbn=9788884430281 |last1=Martini |first1=Martino |year=2002 |via=[[Google Books]]}}</ref> เป็น[[สมาพันธรัฐ|สมาพันธ์]]ชนเผ่า<ref>{{cite web |title=Xiongnu People |url=http://global.britannica.com/topic/Xiongnu|website=britannica.com |publisher=Encyclopædia Britannica |access-date=25 July 2015 |archive-date=11 March 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200311191625/https://global.britannica.com/topic/Xiongnu |url-status=dead}}</ref>ของ[[ชนร่อนเร่]]ที่ข้อมูลจีนสมัยโบราณบันทึกว่าอาศัยอยู่ในบริเวณ[[ทุ่งหญ้าสเตปป์ยูเรเชีย]]ตะวันออกในศตวรรษที่ 3 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 [[มั่วตู๋ฉาน-ยฺหวี]] ผู้นำสูงสุดหลัง 209 ปีก่อน ค.ศ. เป็นผู้สถาปนา '''จักรวรรดิซฺยงหนู'''{{sfn|Di Cosmo|2004|p=186}}
'''ซฺยงหนู''' ตามสำเนียงกลาง หรือ '''เฮงโน้ว''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ({{zh|c=匈奴|p= Xiōngnú}})<ref>{{Cite book |url=https://books.google.com/books?id=MtkvAQAAIAAJ&q=hiungun+xiongnu |title=Opera omnia |isbn=9788884430281 |last1=Martini |first1=Martino |year=2002 |via=[[Google Books]]}}</ref> เป็น[[สมาพันธรัฐ|สมาพันธ์]]ชนเผ่า<ref>{{cite web |title=Xiongnu People |url=http://global.britannica.com/topic/Xiongnu|website=britannica.com |publisher=Encyclopædia Britannica |access-date=25 July 2015 |archive-date=11 March 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200311191625/https://global.britannica.com/topic/Xiongnu |url-status=dead}}</ref>ของ[[ชนร่อนเร่]]ที่ข้อมูลจีนสมัยโบราณบันทึกว่าอาศัยอยู่ในบริเวณ[[ทุ่งหญ้าสเตปป์ยูเรเชีย]]ตะวันออกในศตวรรษที่ 3 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 [[มั่วตู๋ฉาน-ยฺหวี]] ผู้นำสูงสุดหลัง 209 ปีก่อน ค.ศ. เป็นผู้สถาปนา '''จักรวรรดิซฺยงหนู'''{{sfn|Di Cosmo|2004|p=186}}


หลังโค่นล้ม[[เยฺว่จือ]] เจ้าหัวกลุ่มก่อนหน้า<ref>{{cite book |last1=Chase-Dunn |first1=C. |last2=Anderson |first2=E. |title=The Historical Evolution of World-Systems |date=18 February 2005 |publisher=Springer |isbn=978-1-4039-8052-6 |page=36-37 |url=https://books.google.com/books?id=HUTHAAAAQBAJ&dq=xiongnu+overthrew+yuezhi&pg=PA37 |language=en}} "The primary focus of the new threat became the Xiongnu who emerged rather abruptly in the late 4th century B.C. initially subordinated to the Yuezhi, the Xiongnu overthrew the nomadic hierarchy while also escalating its attacks on Chinese areas."</ref> ซฺยงหนูจึงมีอำนาจเหนือ[[สเตปป์]]ใน[[เอเชียตะวันออก]] โดยมีจุดศูนย์กลางใน[[ที่ราบสูงมองโกเลีย]] พวกซฺยงหนูยังมีบทบาทในพื้นที่ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ[[ไซบีเรีย]], [[มองโกเลียใน]], [[มณฑลกานซู่]] และ[[มณฑลซินเจียง]] ความสัมพันธ์กับ[[ราชวงศ์ในประวัติศาสตร์จีน|ราชวงศ์จีน]]ที่ติดกันทางใต้-ตะวันออกนั้นซับซ้อน สลับกันระหว่างช่วงเวลาทั้งสันติภาพ สงคราม และการปราบปรามในช่วงต่าง ๆ ท้ายที่สุด พวกซฺยงหนูพ่ายแพ้ต่อ[[ราชวงศ์ฮั่น]][[สงครามฮั่น–ซฺยงหนู|ในความขัดแย้งนานนับศตวรรษ]] ซึ่งนำไปสู่การแบ่งสมาพันธรัฐออกเป็นสองส่วน และบังคับให้เกิดการย้ายถิ่นฐานใหม่ของชาวซฺยงหนูในชายแดนฮั่นจำนวนมาก ในสมัย[[สิบหกรัฐ]] พวกซฺยงหนู ในฐานะหนึ่งใน"[[ห้าชนเผ่า]]" ก่อตั้งราชวงศ์[[ฮั่น-จ้าว]], [[เหลียงเหนือ|เป่ย์เหลียง]] และ[[เซี่ย (สิบหกรัฐ)|หูเซี่ย]]ในจีนตอนเหนือ
อัตลักษณ์ของแกนกลางทางชาติพันธุ์ซฺยงหนูนั้นเป็นแต่สมมุมติฐานกันไปในหลายทาง ข้อมูลข่าวสารส่วนใหญ่เกี่ยวกับพวกซฺยงหนูจึงมาจากจีน กับทั้งชื่อเสียงเรียงนามของคนเหล่านั้นก็เป็นที่ทราบกันไม่มาก จึงใช้ตามที่จีนทับศัพท์มาจากภาษาซฺยงหนูอีกทอดหนึ่ง นักวิชาการเสนอว่า คนซฺยงหนูอาจใช้ภาษา[[Turkic languages|เติร์ก]] (Turkic), [[Mongolic languages|มองโกล]] (Mongolic), [[Yeniseian languages|เยนีเซย์]] (Yeniseian), <ref>Adas 2001: 88</ref><ref name="beckwith">Beckwith 2009: 404-405, nn. 51-52.</ref> [[Tocharian languages|โทแคเรียน]] (Tocharian), [[Iranian languages|อิหร่าน]] (Iranian), <ref name="Harmatta 1999: 488">Harmatta 1999: 488</ref><ref name="Jankowski 2006: 27">Jankowski 2006: 27</ref> หรือ[[Uralic languages|ยูแรล]] (Uralic) <ref>Di Cosmo, 2004, pg 166</ref> นอกจากนี้ ยังน่าเชื่อว่า พวกซฺยงหนูเล่น[[Tengrism|คุณไสย]]<ref name="Yuri Pines Tengri">Yuri Pines, [http://books.google.de/books?id=EA3lfFV9W7IC The Everlasting Empire: The Political Culture of Ancient China and Its Imperial Legacy], [[Princeton University Press]], 2012, p.37. ISBN 1400842271, 9781400842278.</ref><ref name="John Tengri">John Man, Attila: the barbarian king who challenged Rome, Bantam, 2005, p.62. University of Michigan. ISBN 0593052919, 9780593052914.</ref> ส่วนคำว่า "ซฺยงหนู" อาจมาจากรากศัพท์เดียวกับคำว่า "[[ชาวฮัน|ฮัน]]" (Hun) แต่พยานหลักฐานสำหรับเรื่องนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่<ref name="beckwith" /><ref name="vaissiere2006">Vaissière 2006</ref>


ความพยายามในการเชื่อมโยงซฺยงหนูกับ [[Sakas]] และ[[ซาร์เมเชียน]]ในบริเวณใกล้เคียงเคยเป็นประเด็นโต้แย้ง อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจาก[[พันธุศาสตร์เชิงโบราณคดี]] (archaeogenetic) ยืนยันปฏิสัมพันธ์กับซฺยงหนูและความสัมพันธ์กับ[[ชาวฮัน]] อัตลักษณ์ของแกนกลางทางชาติพันธุ์ซฺยงหนูนั้นเป็นแต่สมมติฐานกันไปในหลายทาง เนื่องจากมีเพียงคำไม่กี่คำเท่านั้นที่เก็บรักษาไว้ในแหล่งข้อมูลภาษาจีน ส่วนใหญ่เป็นตำแหน่งและชื่อส่วนบุคคล คำว่า ''ซฺยงหนู'' อาจเป็น[[คำร่วมเชื้อสาย]]กับชาวฮัน (Hun) และ/หรือ ''[[Huna people|Huna]]''{{sfn|Grousset|1970|pp=[https://archive.org/details/empireofsteppesh00prof/page/19 19, 26–27]}}{{sfn|Pulleyblank|2000|p=17}}{{sfn|Schuessler|2014|pp=257, 264}} แม้ว่าจะมีข้อถกเถียงก็ตาม{{sfn|Beckwith|2009|page=404–405 notes 51–52}}<ref name="vaissiere2006">{{cite encyclopedia |author=Étienne de la Vaissière |date=November 15, 2006 |title=Xiongnu |encyclopedia=Encyclopedia Iranica online |url=http://www.iranicaonline.org/articles/xiongnu |url-status=live |archive-url=https://web.archive.org/web/20120104081516/http://www.iranicaonline.org/articles/xiongnu |archive-date=2012-01-04}}</ref> นักวิชาการหลายคนได้เสนอความเชื่อมโยงทางภาษาศาสตร์อื่น ๆ (ทั้งหมดก็มีข้อถกเถียง) ได้แก่ [[Turkic languages|เตอร์กิก]],{{sfn|Hucker|1975|p=136}}<ref>{{cite journal |url=https://doi.org/10.1017/ehs.2020.18 |title=Early nomads of the Eastern Steppe and their tentative connections in the West |last1=Savelyev |first1=Alexander |last2=Jeong |first2=Choongwon |date=May 10, 2020 |journal=Evolutionary Human Sciences |volume=2 |doi=10.1017/ehs.2020.18 |pmid=35663512 |pmc=7612788 |hdl=21.11116/0000-0007-772B-4 |s2cid=218935871 |quote=The predominant part of the Xiongnu population is likely to have spoken Turkic (Late Proto-Turkic, to be more precise)}}</ref><ref>{{Cite journal |last1=Robbeets |first1=Martine |last2=Bouckaert |first2=Remco |date=2018-07-01 |title=Bayesian phylolinguistics reveals the internal structure of the Transeurasian family |url=http://dx.doi.org/10.1093/jole/lzy007 |journal=Journal of Language Evolution |volume=3 |issue=2 |pages=145–162 |doi=10.1093/jole/lzy007 |issn=2058-4571|hdl=21.11116/0000-0001-E3E6-B |hdl-access=free }}</ref><ref>{{Citation |title=Northern Dynasties and Southern Dynasties |date=2019-05-14 |url=http://dx.doi.org/10.2307/j.ctvc77f7s.11 |work=Chinese Architecture |pages=72–103 |access-date=2023-04-01 |publisher=Princeton University Press|doi=10.2307/j.ctvc77f7s.11 |s2cid=243720017 }}{{Cite web |last=Larousse |first=Éditions |title=Turcs ou Turks - LAROUSSE |url=https://www.larousse.fr/encyclopedie/divers/Turcs/147681 |access-date=2023-04-01 |website=www.larousse.fr |language=fr}}</ref><ref>{{Cite book |title=Book of Zhou, vol. 50}}{{Cite book |title=Henning 1948}}</ref><ref>{{Cite book |title=Sims-Williams 2004}}{{Cite book |title=Pritsak 1959}}{{Cite book |title=Hucker 1975, p. 136.}}{{Cite book |title=Jinshu vol. 97 Four Barbarians - Xiongnu"}}{{Cite book |title=Weishu, "vol. 102 Wusun, Shule, & Yueban" quote: "悅般國,…… 其先,匈奴北單于之部落也。…… 其風俗言語與高車同"}}{{Cite book |title=Yuanhe Maps and Records of Prefectures and Counties vol. 4 quote: "北人呼駮馬為賀蘭}}{{Cite book |last=Kim |first=Hyun Jin |url=http://dx.doi.org/10.1017/cbo9780511920493 |title=The Huns, Rome and the Birth of Europe |date=2013-04-18 |publisher=Cambridge University Press |doi=10.1017/cbo9780511920493 |isbn=978-0-511-92049-3}}{{Cite book |title=Du You. Tongdian. Vol. 200. "突厥謂駮馬為曷剌,亦名曷剌國。"}}{{Cite book |title=Wink 2002, pp. 60–61.}}</ref> [[Iranian languages|อิหร่าน]],<ref name="Harmatta488">{{harvnb|Harmatta|1994|p=488}}: "Their royal tribes and kings (''shan-yü'') bore Iranian names and all the Hsiung-nu words noted by the Chinese can be explained from an Iranian language of Saka type. It is therefore clear that the majority of Hsiung-nu tribes spoke an Eastern Iranian language."</ref>{{sfn|Bailey|1985|pp=21–45}}{{sfn|Jankowski|2006|pp=26–27}} [[Mongolic languages|มองโกล]],<ref name="Tumen">{{cite journal |vauthors=Tumen D |title=Anthropology of Archaeological Populations from Northeast Asia |journal=Oriental Studies |volume=49 |date=February 2011 |pages=25, 27 |publisher=Dankook University Institute of Oriental Studies |url=http://user.dankook.ac.kr/~oriental/Journal/pdf_new/49/11.pdf |archive-date=2013-07-29 |archive-url= https://web.archive.org/web/20130729140858/http://user.dankook.ac.kr/~oriental/Journal/pdf_new/49/11.pdf |url-status=dead}}</ref> [[Uralic languages|ยูรัล]],{{sfn|Di Cosmo|2004|p=166}} [[Yeniseian languages|เยนีเซย์]]{{sfn|Beckwith|2009|page=404–405 notes 51–52}}{{sfn|Adas|2001|p=88}}<ref>{{cite journal |last=Vovin |first=Alexander |year=2000 |title=Did the Xiongnu speak a Yeniseian language? |journal=Central Asiatic Journal |volume=44 |issue=1| pages=87–104 |jstor=41928223}}</ref><ref>{{Cite journal |last=高晶一 |first=Jingyi Gao |date=2017 |trans-title=Xia and Ket Identified by Sinitic and Yeniseian Shared Etymologies |script-title=zh:確定夏國及凱特人的語言為屬於漢語族和葉尼塞語系共同詞源 |title=Quèdìng xià guó jí kǎitè rén de yǔyán wéi shǔyú hànyǔ zú hé yè ní sāi yǔxì gòngtóng cí yuán |journal=Central Asiatic Journal |volume=60 |issue=1–2 |pages=51–58 |doi=10.13173/centasiaj.60.1-2.0051 |jstor=10.13173/centasiaj.60.1-2.0051 |s2cid=165893686}}</ref> หรือหลายกลุ่มชาติพันธุ์{{sfn|Geng|2005}}
แหล่งข้อมูลจีนตั้งแต่ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช บันทึกว่า หลังจากปีที่ 209 ก่อนคริสต์ศักราช พวกซฺยงหนูก่อตั้งจักรวรรดิโดยยก[[มั่วตู๋ ฉาน-ยฺหวี]] (Modu Chanyu) ขึ้นเป็นประมุข<ref>di Cosmo 2004: 186</ref> จักรวรรดิซฺยงหนูแผ่อำนาจข้ามท้องที่ซึ่งปัจจุบันอยู่ในเขตแดนมองโกเลีย ครั้นปีที่ 200 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวซฺยงหนูเอาชัยเหนือพวก[[Yuezhi|เยฺว่จือ]] (Yuezhi) ซึ่งมีอำนาจอยู่ก่อนแล้วได้ ซฺยงหนูจึงเถลิงอำนาจในที่ราบทางภาคกลางและภาคตะวันออกของทวีปเอเชีย คนเหล่านี้ตั้งตัวกันอยู่ในภูมิภาคซึ่งบัดนี้คือ[[ไซบีเรีย]]ใต้ มองโกเลีย [[Southern Mongolia (historical region)|มองโกเลียใต้]] [[มณฑลกานซู|กานซู]] และ[[เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์|ซินเจียง]] แต่ความสัมพันธ์ระหว่างพวกเขากับราชวงศ์จีนนั้นเป็นไปอย่างซับซ้อน มีการณรงค์สงครามและใช้เล่ห์เพทุบายช่วงชิงดินแดนกันอย่างต่อเนื่อง สลับกับการจ่ายส่วย การค้า และการทำสนธิสัญญาเพื่อเป็นดองกัน

== ชื่อ ==


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:38, 21 ธันวาคม 2566

ซฺยงหนู

ศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.–คริสต์ศตวรรษที่ 1
ดินแดนซฺยงหนูในศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ. (ก่อนสงครามฮั่น–ซฺยงหนูใน 133 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 89): โดยรวมมองโกเลีย คาซัคสถานตะวันออก คีร์กีซสถานตะวันออก ไซบีเรียใต้ และจีนตอนเหนือบางส่วน เช่น แมนจูเรียตะวันตก, ซินเจียง, มองโกเลียใน และมณฑลกานซู่[1][2][3][4]
เมืองหลวงLongcheng[5]
ภาษาทั่วไปซฺยงหนู
ศาสนา
เชมัน, ลัทธิเทงรี
การปกครองสมาพันธรัฐชนเผ่า
ฉาน-ยฺหวี 
• 220 - 209 ปีก่อน ค.ศ.
โถวม่าน
• 209 - 174 ปีก่อน ค.ศ.
มั่วตู๋
• 174 - 161 ปีก่อน ค.ศ.
เหล่าช่าง
• ค.ศ. 46
อูต๋าตีโหว
ยุคประวัติศาสตร์โบราณ
• ก่อตั้ง
ศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.
• สิ้นสุด
คริสต์ศตวรรษที่ 1
ก่อนหน้า
ถัดไป
วัฒนธรรมหลุมศพแผ่นหิน
ชาวตงหู
เยฺว่จือ
Sakas
วัฒนธรรมออร์โดส
ราชวงศ์ฮั่น
รัฐเซียนเป่ย์
รัฐข่านโหร่วหราน
โทแคเรียน
รัฐข่านเตอร์กิกที่หนึ่ง
ซฺยงหนู
ภาษาจีน匈奴

ซฺยงหนู ตามสำเนียงกลาง หรือ เฮงโน้ว ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีน: 匈奴; พินอิน: Xiōngnú)[8] เป็นสมาพันธ์ชนเผ่า[9]ของชนร่อนเร่ที่ข้อมูลจีนสมัยโบราณบันทึกว่าอาศัยอยู่ในบริเวณทุ่งหญ้าสเตปป์ยูเรเชียตะวันออกในศตวรรษที่ 3 ถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 มั่วตู๋ฉาน-ยฺหวี ผู้นำสูงสุดหลัง 209 ปีก่อน ค.ศ. เป็นผู้สถาปนา จักรวรรดิซฺยงหนู[10]

หลังโค่นล้มเยฺว่จือ เจ้าหัวกลุ่มก่อนหน้า[11] ซฺยงหนูจึงมีอำนาจเหนือสเตปป์ในเอเชียตะวันออก โดยมีจุดศูนย์กลางในที่ราบสูงมองโกเลีย พวกซฺยงหนูยังมีบทบาทในพื้นที่ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของไซบีเรีย, มองโกเลียใน, มณฑลกานซู่ และมณฑลซินเจียง ความสัมพันธ์กับราชวงศ์จีนที่ติดกันทางใต้-ตะวันออกนั้นซับซ้อน สลับกันระหว่างช่วงเวลาทั้งสันติภาพ สงคราม และการปราบปรามในช่วงต่าง ๆ ท้ายที่สุด พวกซฺยงหนูพ่ายแพ้ต่อราชวงศ์ฮั่นในความขัดแย้งนานนับศตวรรษ ซึ่งนำไปสู่การแบ่งสมาพันธรัฐออกเป็นสองส่วน และบังคับให้เกิดการย้ายถิ่นฐานใหม่ของชาวซฺยงหนูในชายแดนฮั่นจำนวนมาก ในสมัยสิบหกรัฐ พวกซฺยงหนู ในฐานะหนึ่งใน"ห้าชนเผ่า" ก่อตั้งราชวงศ์ฮั่น-จ้าว, เป่ย์เหลียง และหูเซี่ยในจีนตอนเหนือ

ความพยายามในการเชื่อมโยงซฺยงหนูกับ Sakas และซาร์เมเชียนในบริเวณใกล้เคียงเคยเป็นประเด็นโต้แย้ง อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจากพันธุศาสตร์เชิงโบราณคดี (archaeogenetic) ยืนยันปฏิสัมพันธ์กับซฺยงหนูและความสัมพันธ์กับชาวฮัน อัตลักษณ์ของแกนกลางทางชาติพันธุ์ซฺยงหนูนั้นเป็นแต่สมมติฐานกันไปในหลายทาง เนื่องจากมีเพียงคำไม่กี่คำเท่านั้นที่เก็บรักษาไว้ในแหล่งข้อมูลภาษาจีน ส่วนใหญ่เป็นตำแหน่งและชื่อส่วนบุคคล คำว่า ซฺยงหนู อาจเป็นคำร่วมเชื้อสายกับชาวฮัน (Hun) และ/หรือ Huna[12][13][14] แม้ว่าจะมีข้อถกเถียงก็ตาม[15][16] นักวิชาการหลายคนได้เสนอความเชื่อมโยงทางภาษาศาสตร์อื่น ๆ (ทั้งหมดก็มีข้อถกเถียง) ได้แก่ เตอร์กิก,[17][18][19][20][21][22] อิหร่าน,[23][24][25] มองโกล,[26] ยูรัล,[27] เยนีเซย์[15][28][29][30] หรือหลายกลุ่มชาติพันธุ์[31]

ชื่อ

อ้างอิง

เชิงอรรถ

  1. Coatsworth, John; Cole, Juan; Hanagan, Michael P.; Perdue, Peter C.; Tilly, Charles; Tilly, Louise (16 March 2015). Global Connections: Volume 1, To 1500: Politics, Exchange, and Social Life in World History. Cambridge University Press. p. 138. ISBN 978-1-316-29777-3.
  2. Atlas of World History. Oxford University Press. 2002. p. 51. ISBN 978-0-19-521921-0.
  3. Fauve, Jeroen (2021). The European Handbook of Central Asian Studies. p. 403. ISBN 978-3-8382-1518-1.
  4. Hartley, Charles W.; Yazicioğlu, G. Bike; Smith, Adam T. (19 November 2012). The Archaeology of Power and Politics in Eurasia: Regimes and Revolutions (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. p. 245, Fig 12.3. ISBN 978-1-139-78938-7.
  5. Feng, Li (30 December 2013). Early China: A Social and Cultural History (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. p. 273. ISBN 978-0-521-89552-1.
  6. Zheng Zhang (Chinese: 鄭張), Shang-fang (Chinese: 尚芳). 匈 – 上古音系第一三千八百九十字 [匈 - The 13890th word of the Ancient Phonological System]. ytenx.org [韻典網] (ภาษาจีน). Rearranged by BYVoid.
  7. Zheng Zhang (Chinese: 鄭張), Shang-fang (Chinese: 尚芳). 奴 – 上古音系第九千六百字 [奴 – The 9600th word of the Ancient Phonological System]. ytenx.org [韻典網] (ภาษาจีน). Rearranged by BYVoid.
  8. Martini, Martino (2002). Opera omnia. ISBN 9788884430281 – โดยทาง Google Books.
  9. "Xiongnu People". britannica.com. Encyclopædia Britannica. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 March 2020. สืบค้นเมื่อ 25 July 2015.
  10. Di Cosmo 2004, p. 186.
  11. Chase-Dunn, C.; Anderson, E. (18 February 2005). The Historical Evolution of World-Systems (ภาษาอังกฤษ). Springer. p. 36-37. ISBN 978-1-4039-8052-6. "The primary focus of the new threat became the Xiongnu who emerged rather abruptly in the late 4th century B.C. initially subordinated to the Yuezhi, the Xiongnu overthrew the nomadic hierarchy while also escalating its attacks on Chinese areas."
  12. Grousset 1970, pp. 19, 26–27.
  13. Pulleyblank 2000, p. 17.
  14. Schuessler 2014, pp. 257, 264.
  15. 15.0 15.1 Beckwith 2009, p. 404–405 notes 51–52.
  16. Étienne de la Vaissière (November 15, 2006). "Xiongnu". Encyclopedia Iranica online. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-04.
  17. Hucker 1975, p. 136.
  18. Savelyev, Alexander; Jeong, Choongwon (May 10, 2020). "Early nomads of the Eastern Steppe and their tentative connections in the West". Evolutionary Human Sciences. 2. doi:10.1017/ehs.2020.18. hdl:21.11116/0000-0007-772B-4. PMC 7612788. PMID 35663512. S2CID 218935871. The predominant part of the Xiongnu population is likely to have spoken Turkic (Late Proto-Turkic, to be more precise)
  19. Robbeets, Martine; Bouckaert, Remco (2018-07-01). "Bayesian phylolinguistics reveals the internal structure of the Transeurasian family". Journal of Language Evolution. 3 (2): 145–162. doi:10.1093/jole/lzy007. hdl:21.11116/0000-0001-E3E6-B. ISSN 2058-4571.
  20. "Northern Dynasties and Southern Dynasties", Chinese Architecture, Princeton University Press, pp. 72–103, 2019-05-14, doi:10.2307/j.ctvc77f7s.11, S2CID 243720017, สืบค้นเมื่อ 2023-04-01Larousse, Éditions. "Turcs ou Turks - LAROUSSE". www.larousse.fr (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 2023-04-01.
  21. Book of Zhou, vol. 50.Henning 1948.
  22. Sims-Williams 2004.Pritsak 1959.Hucker 1975, p. 136.Jinshu vol. 97 Four Barbarians - Xiongnu".Weishu, "vol. 102 Wusun, Shule, & Yueban" quote: "悅般國,…… 其先,匈奴北單于之部落也。…… 其風俗言語與高車同".Yuanhe Maps and Records of Prefectures and Counties vol. 4 quote: "北人呼駮馬為賀蘭.Kim, Hyun Jin (2013-04-18). The Huns, Rome and the Birth of Europe. Cambridge University Press. doi:10.1017/cbo9780511920493. ISBN 978-0-511-92049-3.Du You. Tongdian. Vol. 200. "突厥謂駮馬為曷剌,亦名曷剌國。".Wink 2002, pp. 60–61.
  23. Harmatta 1994, p. 488: "Their royal tribes and kings (shan-yü) bore Iranian names and all the Hsiung-nu words noted by the Chinese can be explained from an Iranian language of Saka type. It is therefore clear that the majority of Hsiung-nu tribes spoke an Eastern Iranian language."
  24. Bailey 1985, pp. 21–45.
  25. Jankowski 2006, pp. 26–27.
  26. Tumen D (February 2011). "Anthropology of Archaeological Populations from Northeast Asia" (PDF). Oriental Studies. Dankook University Institute of Oriental Studies. 49: 25, 27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-07-29.
  27. Di Cosmo 2004, p. 166.
  28. Adas 2001, p. 88.
  29. Vovin, Alexander (2000). "Did the Xiongnu speak a Yeniseian language?". Central Asiatic Journal. 44 (1): 87–104. JSTOR 41928223.
  30. 高晶一, Jingyi Gao (2017). "Quèdìng xià guó jí kǎitè rén de yǔyán wéi shǔyú hànyǔ zú hé yè ní sāi yǔxì gòngtóng cí yuán" 確定夏國及凱特人的語言為屬於漢語族和葉尼塞語系共同詞源 [Xia and Ket Identified by Sinitic and Yeniseian Shared Etymologies]. Central Asiatic Journal. 60 (1–2): 51–58. doi:10.13173/centasiaj.60.1-2.0051. JSTOR 10.13173/centasiaj.60.1-2.0051. S2CID 165893686.
  31. Geng 2005.

รายการอ้างอิง

  • Adas, Michael. 2001. Agricultural and Pastoral Societies in Ancient and Classical History, American Historical Association/Temple University Press.
  • Beckwith, Christopher I. 2009. Empires of the Silk Road: A History of Central Eurasia from the Bronze Age to the Present. Princeton University Press. ISBN 978-0-691-13589-2
  • Di Cosmo, Nicola. 2004. Ancient China and its Enemies: The Rise of Nomadic Power in East Asian History. Cambridge University Press. (First paperback edition; original edition 2002)
  • Harmatta, János. 1999. Conclusion. In: History of civilizations of Central Asia. Volume 2: The Development of Sedentary and Nomadic Civilizations, 700 bc to ad 250; Edited by János Harmatta et al. UNESCO. ISBN 92-3-102846-4. 485-493.
  • Jankowski, Henryk. 2006. A historical-etymological dictionary of pre-Russian habitation names of the Crimea. Brill. Handbuch der Orientalistik [HdO], 8: Central Asia; 15. ISBN 90-04-15433-7.
  • Vaissière, Étienne de la. 2006. Xiongnu. Encyclopædia Iranica online.

แหล่งข้อมูลอื่น