ข้ามไปเนื้อหา

อัฒภาค

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ความหมายอื่น ที่เป็นชื่อวงดนตรีเซมิโคล่อน ดูที่ เซมิโคล่อน

อัฒภาค
วรรคตอน
อะพอสทรอฟี   '
วงเล็บ [ ]  ( )  { }  ⟨ ⟩
ทวิภาค :
จุลภาค ,  ،  
จุดไข่ปลา   ...  . . .      
อัศเจรีย์  !
มหัพภาค .
กิลเลอเมต ‹ ›  « »
ยัติภังค์ -
ยัติภาค   
ปรัศนี  ?
อัญประกาศ ‘ ’  “ ”  ' '  " "
อัฒภาค ;
ทับ /    
ตัวแบ่งคำ
อินเตอร์พังก์ ·
เว้นวรรค     
การพิมพ์ทั่วไป
แอมเพอร์แซนด์ &
ดอกจัน *
แอต @
แบ็กสแลช \
เบสิสพอยต์
บุลเลต
แคเรต ^
แดกเกอร์ † ‡ ⹋
องศา °
บุพสัญญา ” 〃
ดับเบิลไฮเฟน = ⸗
อัศเจรีย์กลับหัว ¡
ปรัศนีกลับหัว ¿
เครื่องหมายอ้างอิง
เครื่องหมายคูณ ×
นัมเบอร์, แฮชแท็ก #
นูเมอโร
ออเบอลุส ÷
ตัวบอกลำดับ º ª
สัญลักษณ์ร้อยละ (เปอร์เซ็นต์)  %
สัญลักษณ์พันละ (เปอร์มิลล์)
พิลโครว์
บวกและลบ + −
บวกหรือลบ ± ∓
ไพรม์     
เซกชัน §
ทิลเดอ, ตัวหนอน ~
อันเดอร์สกอร์ _
เส้นตั้ง |    ¦
ทรัพย์สินทางปัญญา
ลิขสิทธิ์ ©
กอปปีเลฟต์ 🄯
ลิขสิทธิ์การอัดเสียง
เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน ®
เซอร์วิสมาร์ก
เครื่องหมายการค้า
สกุลเงิน
เครื่องหมายสัญลักษณ์สกุลเงิน ¤

؋฿¢$֏ƒ£元 圆 圓 ¥

การพิมพ์เฉพาะทาง
แอสเทอริซึม
ฟลอวรอน
ดัชนี
อินเทอร์รอแบง
วรรคตอนไอเรอนี
ลอซินจ์
ไท
ที่เกี่ยวข้อง
ในภาษาอื่น ๆ
ในภาษาไทย
โคมูตร
ตีนครุ
ไปยาลน้อย
ไปยาลใหญ่ ฯลฯ
ฟองมัน
ไม้ยมก
อังคั่น , ฯะ, , ๚ะ

อัฒภาค หรือ จุดครึ่ง [1] ( ; ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า เซมิโคลอน หรือ เซไมโคลอน (semicolon)

ประวัติ

[แก้]

ต้นกำเนิดของการใช้เครื่องหมายอัฒภาค ย้อนกลับไปที่ชาวอิตาลี ชื่อ อัลดุส ปิอุส มานูติอุส (Aldus Pius Manutius) ได้ใช้เครื่องหมายนี้ในการแบ่งคำของประโยคที่มีความหมายแยกจากกัน และมีการค้นพบในปี ค.ศ. 1591 ที่ sonnets ของเชกสเปียร์ได้มีการใช้เครื่องหมายอัฒภาค และ เบน จอนสัน นักเขียนชาวอังกฤษคนแรกที่มีการนำระบบนี้มาใช้อย่างเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง

  • ในการเขียนพจนานุกรม ใช้คั่นความหมายของคำที่แตกต่างกัน แต่ก็ยังมีนัยเนื่องกับความหมายเดิม และยังใช้คั่นความหมายที่ไม่สัมพันธ์กันอีกด้วย
  • ในภาษาอังกฤษ เครื่องหมายนี้ใช้ในการแบ่งประโยคสองประโยคที่มีความหมายเป็นอิสระต่อกัน แต่มีการวางตำแหน่งใกล้เคียงกัน
  • ในภาษาโปรแกรมหลายภาษา ใช้เครื่องหมายนี้ใช้ที่ท้ายแถวเพื่อบอกถึงการจบคำสั่ง
  • ในภาษาอาหรับ อัฒภาคเขียนกลับหัวอย่างนี้ ؛

อ้างอิง

[แก้]
  1. เครื่องหมายวรรคตอนและการเขียน[ลิงก์เสีย] คลังความรู้ออนไลน์ ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สวทช.