อักษรโขชกี
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
อักษรโขชกี | |
---|---|
ชนิด | |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภูมิภาค | อินเดีย, ปากีสถาน, แคว้นสินธ์ |
ภาษาพูด | ภาษากัจฉ์, ภาษาสินธ์ |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบพี่น้อง | อักษรคุรมุขี, อักษรขุทาพาที, อักษรมหาชนี, อักษรมุลตานี |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Khoj (322), Khojki |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Khojki |
ช่วงยูนิโคด | U+11200–U+1124F Final Accepted Script Proposal |
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล |
อักษรโขชกี (สินธ์: خوجڪي (อักษรอาหรับ) खोजकी (อักษรเทวนาครี)) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษากัจฉ์ และภาษาสินธ์ ใช้ในกลุ่มชาวสินธ์ในอินเดียและปากีสถาน