สมเด็จพระญาณสังวร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมเด็จพระญาณสังวร
การเรียกขานท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ
จวนพระอารามหลวง
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดพระชีพ
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระญาณสังวร (สุก ญาณสังวร)
สถาปนาพ.ศ. 2359
ตำแหน่งที่มาแทนสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

สมเด็จพระญาณสังวร เป็นราชทินนามที่พระราชทานแก่พระเถระผู้ทรงคุณทางวิปัสสนาธุระโดยเฉพาะ ซึ่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีเพียง 2 องค์ ตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงโปรดให้ตั้งขึ้นใหม่สำหรับพระราชทานสถาปนา พระญาณสังวร (สุก) มีความหมายว่า ผู้ที่ความสำรวมในความรู้อย่างยิ่ง (ญาณ หมายถึง ความรู้ และ สังวร หมายถึง สำรวม)[1]

รายพระนาม[แก้]

ลำดับที่ รายนาม วัด ดำรงสมณศักดิ์ สมณศักดิ์สุดท้าย
1 สมเด็จพระญาณสังวร (สุก ญาณสังวร) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ 2359 – 2363 สมเด็จพระอริยวงษญาณ (สุก ญาณสังวร)
2 สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร 2515 – 2532 สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร


อ้างอิง[แก้]

  1. ""ญาณสังวร" มีที่มาและความหมายอย่างไร?". โพสต์ทูเดย์. 16 ธันวาคม 2558.