วนาลี
หัวข้อของบทความนี้อาจไม่ผ่านแนวปฏิบัติความโดดเด่นทั่วไป (กันยายน 2023) |
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
วนาลี | |
---|---|
กำกับ | ไพโรจน์ สังวริบุตร |
เขียนบท | สราญจิต |
บทภาพยนตร์ | สราญจิต |
อำนวยการสร้าง | ไพโรจน์ สังวริบุตร |
นักแสดงนำ | ไพโรจน์ สังวริบุตร มาช่า วัฒนพานิช |
กำกับบท | สราญจิต |
ถ่ายภาพ | สราญจิต |
ลำดับภาพ | สราญจิต |
บริษัทผู้สร้าง | ศิลปการภาพยนตร์ |
ผู้จัดจำหน่าย | ศิลปการภาพยนตร์ |
วันฉาย | 22 สิงหาคม 2529 |
ประเทศ | ไทย |
ภาษา | ไทย |
วนาลี | |
---|---|
สร้างโดย | พ.ศ. 2533 บริษัท ไอแอม โปรดักชั่น จำกัด พ.ศ. 2554 บริษัท เวฟมีเดีย โปรดักชั่น จำกัด |
พัฒนาโดย | พ.ศ. 2533 ชูศักดิ์ สุธีรธรรม พ.ศ. 2554 ยุทธนา ลอพันธุ์ไพบูลย์ |
แสดงนำ | พ.ศ. 2533 ศรัณยู วงษ์กระจ่าง ลลิตา ปัญโญภาส พ.ศ. 2554 ณัฐวุฒิ สกิดใจ ลักษณ์นารา เปี้ยทา |
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด | พ.ศ. 2533 วนาสวาท - สง่า อารัมภีร พ.ศ. 2554 วนาสวาท - สง่า อารัมภีร |
ดนตรีแก่นเรื่องปิด | พ.ศ. 2533 วนาสวาท - สง่า อารัมภีร พ.ศ. 2554 วนาสวาท - สง่า อารัมภีร |
ประเทศแหล่งกำเนิด | ไทย |
ภาษาต้นฉบับ | ไทย |
จำนวนตอน | พ.ศ. 2533 34 ตอน พ.ศ. 2554 16 ตอน |
การผลิต | |
ผู้อำนวยการผลิต | ประวิทย์ มาลีนนท์ |
ผู้อำนวยการสร้าง | พ.ศ. 2533 ยุทธนา ลอพันธุ์ไพบูลย์ พ.ศ. 2554 หทัยรัตน์ อมตะวณิชย์ |
ความยาวตอน | พ.ศ. 2533, พ.ศ. 2554 (ช่อง3) 120 นาที/ตอน (ช่อง3SD) 115 นาที/ตอน |
ออกอากาศ | |
เครือข่าย | พ.ศ. 2533, พ.ศ. 2554 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 |
วนาลี เป็นภาพยนตร์ไทยขนาด 70 มม. พากย์เสียงในฟิล์มปี 2529 เข้าฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2529 ที่โรงภาพยนตร์แอมบาสเดอร์ จากการกำกับของไพโรจน์ สังวริบุตร ซึ่งเข้ามากำกับแทน ไพโรจน์ สังวริบุตร ผู้กำกับจากไพโรจน์ สังวริบุตร นำแสดงโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร และ มาช่า วัฒนพานิช
วนาลี เป็นละครโทรทัศน์ไทย ที่ออกอากาศในปี พ.ศ. 2533, พ.ศ. 2554 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยนำบทประพันธ์นวนิยายของสราญจิตต์
นักแสดง
[แก้]- ไพโรจน์ สังวริบุตร รับบท ร.ต.อ.ศยาม/เสือมืด
- มาช่า วัฒนพานิช รับบท วิชชุดา
- ศรัณยู วงษ์กระจ่าง รับบท ร.ต.อ.ศยาม/เสือมืด
- ลลิตา ปัญโญภาส รับบท วิชชุดา
- ณัฐวุฒิ สกิดใจ รับบท ร.ต.อ.ศยาม/เสือมืด
- ลักษณ์นารา เปียทา รับบท วิชชุดา
- เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์ รับบท พันตำรวจตรีโสรัตน์
- คนึงนิจ จักรสมิทธานนท์ รับบท สุดถนอม (แหวว)
- นิธิ สมุทรโคจร รับบท พันตำรวจโทวิชาติ
- เจนสุดา ปานโต รับบท สอางค์ทิพย์
- พงษ์พัฒน์ วชิระบรรจง รับบท เสือสอน
- มนตรี เจนอักษร รับบท พลเอกคุณหลวงไพศาล
- ญาณี จงวิสุทธิ์ รับบท คุณนายจินดา ธนรักษ์
- นิธิชัย ยศอมรสุนทร รับบท ปลัดวีรชาติ วิภาดา
- โฉมฉาย ฉัตรวิไล รับบท คุณหญิงสมสวาท
- เมตตา รุ่งรัตน์ รับบท นมขาม
- ริชาร์ด เกียนี่ รับบท เด็กเด๋อ
รางวัล
[แก้]- รางวัลท็อปอวอร์ด 2011 รางวัลสาขาละครโทรทัศน์
- ดารานำชายยอดเยี่ยม ณัฐวุฒิ สกิดใจ
- 1 ใน 5 รางวัลดารานำหญิงยอดเยี่ยม ลักษณ์นารา เปี้ยทา
- รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2554 ประเภทละครโทรทัศน์
- ละครดีเด่น
- ฉากละครดีเด่น (องค์ประกอบศิลป์ดีเด่น)
- รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2554 ประเภทละครโทรทัศน์
- รางวัลกำกับภาพยอดเยี่ยม
- ได้รับรางวัลเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
- 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม ณัฐวุฒิ สกิดใจ
- 1 ใน 5 รางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ลักษณ์นารา เปี้ยทา
- 1 ใน 5 รางวัลละครยอดเยี่ยม
- รางวัล Tokyo Drama Award 2012 ประเภทละครโทรทัศน์
- รางวัล International Drama
เพลงประกอบภาพยนตร์
[แก้]- พ.ศ. 2529
- เพลง วนาสวาท
เพลงประกอบละคร
[แก้]- พ.ศ. 2533
- เพลง วนาสวาท ขับร้องโดย สง่า อารัมภีร
- เพลง วนาสวาท ขับร้องโดย สง่า อารัมภีร
- พ.ศ. 2554
- เพลง วนาสวาท พรหมลิขิต ขับร้องโดย สง่า อารัมภีร, บวรภัส จินต์ประเสริฐ
- เพลง อยากบอกรัก ขับร้องโดย กสิ นิพัฒน์ศิริผล, จักรกฤษณ์ มัฆนาโส
โฆษณาที่ตามมา
[แก้]เมื่อออกอากาศแล้ว วนาลีได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ถึงขนาดที่นายกรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในขณะนั้น ได้เขียนลงเฟซบุ๊คของตัวเอง โดยเอาเนื้อหาจากละครมาอธิบายถึงพระราชบัญญัติการติดตามทวงหนี้อย่างเป็นธรรมซึ่งถือเป็นนโยบายหนึ่งที่ตนเองรับผิดชอบอยู่ ซึ่งเรื่องนี้ต่อมาก็ได้เป็นที่ฮือฮากันในแวดวงสังคมพอสมควร
ต่อมา จึงได้มีการผลิตภาพยนตร์โฆษณาเพื่ออธิบายนโยบายดังกล่าว โดยที่ให้นักแสดงบทบาทต่าง ๆ ในเรื่อง มาแสดงร่วมกัน และนายกรณ์เองก็ร่วมแสดงด้วย โดยเป็นผู้อธิบายสั้น ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาของนโยบายชิ้นนี้ ซึ่งก็ได้รับเสียงตอบรับอย่างดีอีกเช่นกัน