รายชื่อประธานฟีฟ่า
หน้าตา
ประธานฟีฟ่า | |
---|---|
ฟีฟ่า | |
การเรียกขาน | His Excellency |
สมาชิกของ | คณะกรรมการบริหารฟีฟ่า |
ที่ว่าการ | สำนักงานใหญ่ฟีฟ่า ซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ |
ผู้แต่งตั้ง | สภาฟีฟ่า |
วาระ | 4 ปี จัดการเลือกตั้งในปีเดียวกับฟุตบอลโลก (ดำรงตำแหน่งอีกได้ 3 ครั้ง) |
ตราสารจัดตั้ง | ระเบียบข้อบังคับฟีฟ่า |
สถาปนา | 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1904 |
คนแรก | รอแบร์ เกแร็ง |
รอง | รองประธานอาวุโสฟีฟ่า |
เงินตอบแทน | 2.6 ล้านปอนด์ (จำนวนใน ค.ศ. 2015) |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
นี่คือ รายชื่อประธานสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ฝ่ายบริหารฟุตบอลของโลก[1] มีเพียงแดเนียล เบอร์ลีย์ วุลฟอลล์, Rodolphe Seeldrayers และอาร์เธอร์ ดรูว์รีที่เสียชีวิตขณะดำรงตำแหน่ง
ประธานคนปัจจุบันคือจันนี อินฟันตีโนที่ได้รับเลือกในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 ในช่วงสมัยประชุมวิสามัญของคณะกรรมการบริหารฟีฟ่า[2][3] ก่อนหน้านั้น อีซา ฮายาตูเคยดำรงตำแหน่งรักษาการประธานหลังการถอดถอนเซ็พ บลัทเทอร์ในวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 ซึ่งผลที่ตามมาของเขาถือการห้ามมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวกับฟุตบอลทั้งหมดเป็นเวลา 6 ปีในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2015[4][5]
รายชื่อประธานฟีฟ่า
[แก้]ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
ดำรงตำแหน่ง | ประเทศต้นกำเนิด | อ้างอิง | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มต้น | สิ้นสุด | ระยะเวลา | |||||
1 | รอแบร์ เกแร็ง (1876–1952) |
23 พฤษภาคม ค.ศ. 1904 | 4 มิถุนายน ค.ศ. 1906 | 2 ปี 12 วัน | ฝรั่งเศส | ||
2 | แดเนียล เบอร์ลีย์ วุลฟอลล์ (1852–1918) |
4 มิถุนายน ค.ศ. 1906 | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 (เสียชีวิต) | 12 ปี 142 วัน | อังกฤษ | ||
– | Cornelis August Wilhelm Hirschman[note 1] (1877–1951) |
24 ตุลาคม ค.ศ. 1918 (รักษาการ) | ค.ศ. 1920[note 2] | 1 ปี 309 วัน | เนเธอร์แลนด์ | ||
– | ฌูล รีแม[note 3] (1873–1956) |
ค.ศ. 1920[note 2] (รักษาการ) | 1 มีนาคม ค.ศ. 1921 | 0 ปี 185 วัน | ฝรั่งเศส | ||
3 | 1 มีนาคม ค.ศ. 1921 | 21 มิถุนายน ค.ศ. 1954 | 33 ปี 112 วัน | ||||
4 | Rodolphe Seeldrayers (1876–1955) |
21 มิถุนายน ค.ศ. 1954 | 7 ตุลาคม ค.ศ. 1955 (เสียชีวิต) | 1 ปี 108 วัน | เบลเยียม | ||
– | อาร์เธอร์ ดรูว์รี (1891–1961) |
7 ตุลาคม ค.ศ. 1955 (รักษาการ) | 9 มิถุนายน ค.ศ. 1956 | 0 ปี 246 วัน | อังกฤษ | ||
5 | 9 มิถุนายน ค.ศ. 1956 | 25 มีนาคม ค.ศ. 1961 (เสียชีวิต) | 4 ปี 289 วัน | ||||
– | Ernst Thommen (1899–1967) |
25 มีนาคม ค.ศ. 1961 (รักษาการ) | 28 กันยายน ค.ศ. 1961 | 0 ปี 187 วัน | สวิตเซอร์แลนด์ | ||
6 | สแตนลีย์ เราส์[note 4] (1895–1986) |
28 กันยายน ค.ศ. 1961 | 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1974 | 12 ปี 222 วัน | อังกฤษ | ||
7 | ฌูเวา อาเวลังฌี[note 5] (1916–2016) |
8 พฤษภาคม ค.ศ. 1974 | 8 มิถุนายน ค.ศ. 1998 | 24 ปี 31 วัน | บราซิล | ||
8 | เซพพ์ บลัทเทอร์ (เกิด ค.ศ. 1936) |
8 มิถุนายน ค.ศ. 1998 | 8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 (ถูกถอดถอน)[note 6] | 17 ปี 122 วัน | สวิตเซอร์แลนด์ | ||
– | อีซา ฮายาตู[note 7] (เกิด ค.ศ. 1946) |
8 ตุลาคม ค.ศ. 2015 (รักษาการ) | 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 | 0 ปี 141 วัน | แคเมอรูน | ||
9 | จันนี อินฟันตีโน (เกิด ค.ศ. 1970) |
26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 | อยู่ในวาระ | 8 ปี 254 วัน | สวิตเซอร์แลนด์ / อิตาลี |
หมายเหตุ
- ↑ ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่า
- ↑ 2.0 2.1 รีแมเคยได้รับการแต่งตั้งให้ควบคุมฟีฟ่าในฐานะประธานในโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 ที่แอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยียม[6][7]
- ↑ ได้รับเลือกเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่าในวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1954
- ↑ ได้รับเลือกเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่าในวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1974
- ↑ ได้รับเลือกเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของฟีฟ่าในวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1998
- ↑ หลังหยุดทำหน้านี้ บลัทเทอร์ถูกแบนเป็นเวลา 6 ปีในวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 2015[5][8]
- ↑ หลังการแบนเซพพ์ บลัทเทอร์ อีซา ฮายาตูดำรงตำแหน่งประธานฟีฟ่าเป็นการชั่วคราวตามมาตรา 32(6) ของระเบียบข้อบังคับฟีฟ่า เนื่องจากฮายาตูดำรงตำแหน่งรองประธานคณะกรรมการบริหารของฟีฟ่านานที่สุด[9]
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อประธานเอเอฟซี
- รายชื่อประธานซีเอเอฟ
- รายชื่อประธานคอนคาแคฟ
- รายชื่อประธานคอนเมบอล
- รายชื่อประธานโอเอฟซี
- รายชื่อประธานยูฟ่า
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The eight Presidents" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 21 December 2016. สืบค้นเมื่อ 20 December 2016.
- ↑ "Gianni Infantino elected FIFA President". FIFA.com (Press release). Fédération Internationale de Football Association. February 26, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2016. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
- ↑ Baxter, Kevin (February 26, 2016). "Gianni Infantino is elected FIFA president". The Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ February 26, 2016.
- ↑ "Issa Hayatou takes temporary charge of Fifa". BBC Sport. 8 October 2015. สืบค้นเมื่อ 8 October 2015.
- ↑ 5.0 5.1 "Sepp Blatter: End of era for Fifa boss". BBC. December 21, 2015. สืบค้นเมื่อ June 27, 2018.
- ↑ "Jules Rimet: The Father of the World Cup". FIFA. 17 June 1998. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 September 2020. สืบค้นเมื่อ 24 December 2020.
- ↑ "History of FIFA – More associations follow". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2021. สืบค้นเมื่อ 24 December 2020.
- ↑ "Sepp Blatter & Michel Platini lose Fifa appeals but bans reduced". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 February 2016.
- ↑ "Acting FIFA President Issa Hayatou". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. December 21, 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 October 2015. สืบค้นเมื่อ December 22, 2015.
On 8 October 2015, given the decision of the Adjudicatory Chamber of the Independent Ethics Committee to provisionally ban Joseph S. Blatter from all football activities on a national and international level, Issa Hayatou assumed the Office of FIFA President on an interim basis, as the longest-serving vice-president on FIFA's Executive Committee - according to article 32 (6) of the FIFA Statutes.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "Past Presidents". fifa.com. สืบค้นเมื่อ 11 November 2022.