ข้ามไปเนื้อหา

รัฐรัสเซีย (ค.ศ. 1918–1920)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐรัสเซีย

Россійское Государство
Rossiyskoye Gosudarstvo
ค.ศ. 1918–1920
คำขวัญЕдиная и недѣлимая Россія!
Yedinaya i nedelimaya Rossiya!
("รัสเซียหนึ่งเดียวแบ่งแยกมิได้!")
และ
Симъ побѣдиши!
Simŭ pobědiši!
("ด้วยสัญลักษณ์นี้ เจ้าจะพิชิตชัย!")
เพลงชาติКоль славенъ
Kol' slaven
("ช่างรุ่งโรจน์เพียงใด!")
     ขอบเขตอำนาจสูงสุด (มกราคม ค.ศ. 1919)      ดินแดนอ้างสิทธิ์[a]
     ขอบเขตอำนาจสูงสุด (มกราคม ค.ศ. 1919)
     ดินแดนอ้างสิทธิ์[a]
เมืองหลวงเปโตรกราด
(โดยนิตินัย ไม่มีอำนาจควบคุมอย่างแท้จริง)
อูฟา
(โดยพฤตินัย จนถึงวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1918)
ออมสค์
(โดยพฤตินัย ค.ศ. 1918–1920)
ภาษาทั่วไปรัสเซีย
ศาสนา
รัสเซียออร์ทอดอกซ์
การปกครองสาธารณรัฐ
(กันยายน-พฤศจิกายน ค.ศ. 1918)
เผด็จการทหารอนุรักษนิยม
(ค.ศ. 1918–1920)
ประธานรัฐบาลชั่วคราวแห่งรัสเซียทั้งปวง 
• ค.ศ. 1918
นีโคไล อัฟค์เซนเตียฟ
ผู้ปกครองสูงสุด 
• ค.ศ. 1918–1920
อะเลคซันดร์ คอลชัค
 
• ค.ศ. 1918–1919
ปิออตร์ โวโลกอดสกี
• ค.ศ. 1919–1920
วิคตอร์ เปเปลยาเยฟ
สภานิติบัญญัติรัฐบาลชั่วคราวแห่งรัสเซียทั้งปวง
(ค.ศ. 1918)
รัฐบาลรัสเซีย
(ค.ศ. 1918–1920)
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
23 กันยายน ค.ศ. 1918
• เผด็จการทหาร
18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
• ยุบเลิก
5 เมษายน ค.ศ. 1920
สกุลเงินรูเบิล เยน
ก่อนหน้า
ถัดไป
คณะกรรมาธิการสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
สาธารณรัฐไซบีเรีย
รัฐบาลชั่วคราวส่วนภูมิภาคยูรัล
องค์การบริหารสูงสุดแห่งภาคเหนือ
คอสแซ็ก
รัสเซียโซเวียต
โอครายีนา
ตะวันออก

รัฐรัสเซีย (รัสเซีย: Российское Государство, Rossiyskoye Gosudarstvo หรือ Государство Российское, Gosudarstvo Rossiyskoye)[1] เป็นรัฐที่ประกาศก่อตั้งตามกรรมสารการประชุมที่อูฟา เมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1918 (ตามรัฐธรรมนูญของรัฐบาลชั่วคราวแห่งรัสเซียทั้งปวง) "เกี่ยวกับการก่อตั้งของอำนาจสูงสุดแห่งรัสเซียทั้งปวง" ในนามของ "การฟื้นฟูรัฐให้เป็นหนึ่งเดียว และความเป็นอิสรภาพของรัสเซีย" ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์การปฏิวัติภายในประเทศ เมื่อ ค.ศ. 1917 เมื่อมีการสถาปนาอำนาจโซเวียต และการลงนามในสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ กับ เยอรมนี[2][3][4][5]

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. รัฐรัสเซียหรือขบวนการขาวโดยรวมไม่เคยอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนใด ๆ แต่ในช่วงสงครามกลางเมือง ขบวนการขาวก็ไม่ได้ยอมรับประเทศเอกราชที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ในอดีตจักรวรรดิรัสเซียเช่นกัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. Цветков В. Ж. Белое дело в России. 1919 г. (формирование и эволюция политических структур Белого движения в России). — 1-е. — Москва: Посев, 2009. — 636 с. — 250 экз. — ISBN 978-5-85824-184-3 [ต้องการเลขหน้า]
  2. "№104. Акт об образовании всероссийской верховной власти, принятый на государственном совещании, имевшем место в городе Уфе с 8 по 23 сентября 1918 г. // Документы". www.scepsis.ru. สืบค้นเมื่อ 2018-11-15.
  3. Журавлев В. В. (2007-02-20). "Государственное совещание: к истории консолидации антибольшевистского движения на востоке России в июле — сентябре 1918 г." Сибирская Заимка. สืบค้นเมื่อ 2018-11-15.
  4. Г. К. Гинс, «Сибирь, союзники и Колчак. Поворотный момент русской истории 1918—1920 гг.», М., изд. Айрис-пресс, 2013, ISBN 978-5-8112-4563-5, стр. 148. (глава VIII: Уфимское Совещание — Ход работ в Уфе)
  5. Мати Граф, «Эстония и Россия 1917—1991: Анатомия расставания», Таллинн, 2007 г., изд. Арго, ISBN 9789949415984, стр. 182

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]