ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
| พระอิสริยยศ = พระยาราชวงศ์[[นครรัฐแพร่|นครแพร่]]
| พระอิสริยยศ = พระยาราชวงศ์[[นครรัฐแพร่|นครแพร่]]
| ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
| ฐานันดรศักดิ์ = [[เจ้านายฝ่ายเหนือ]]
| พระบิดา = เจ้าราชบุตร (หนานขัตติยะ)
| พระบิดา = เจ้าราชบุตร (หนานขัตติยะ บุตรรัตน์)
| พระมารดา = แม่เจ้าพิมพา
| พระมารดา = แม่เจ้าพิมพา บุตรรัตน์
| ชายา = เจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์
| ชายา = เจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์
| หม่อม =
| หม่อม =
บรรทัด 19: บรรทัด 19:


==พระประวัติ==
==พระประวัติ==
พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) หรือ เจ้าน้อยบุญศรี เป็นโอรสเจ้าราชบุตร (เจ้าหนานขัตติยะ) ต้นสกุลบุตรรัตน์ กับแม่เจ้าพิมพา มีเจ้าพี่น้องร่วมเจ้าบิดามารดาเดียวกัน 6 คน ได้แก่
พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) หรือ เจ้าน้อยบุญศรี เป็นโอรสองค์โตในเจ้าราชบุตร (เจ้าหนานขัตติยะ) ต้นสกุลบุตรรัตน์ กับแม่เจ้าพิมพา มีเจ้าน้องร่วมเจ้าบิดามารดาอีก 5 คน ได้แก่


1.พระยาราชวงศ์ (เจ้าน้อยบุญศรี บุตรรัตน์)
1.เจ้าหนานอินต๊ะ บุตรรัตน์ สมรสกับเจ้านกแก้ว บุตรรัตน์


2.เจ้าหนานอินต๊ะ บุตรรัตน์ สมรสกับแม่เจ้านกแก้ว
2.เจ้าน้อยจุ๋งแก้ว บุตรรัตน์ สมรสกับแม่นายมา บุตรรัตน์


3.เจ้าน้อยจุ๋งแก้ว บุตรรัตน์ สมรสกับแม่นายมา
3.เจ้าเฮือนแก้ว วังซ้าย สมรสกับเจ้าหนานพรหม วังซ้าย


4.เจ้าน้อยแก้วเมืองมา สระแสง เป็นผู้อุปถัมภ์การสร้างวัดสถานหรือวัดสวรรคนิเวศในปัจจุบัน สมรสกับเจ้าคำปันดี
4.แม่เจ้าเฮือนแก้ว วังซ้าย


5.เจ้าเปี้ย แนวณรงค์ สมรสกับนายน้อยนิล แนวณรงค์
5.เจ้าน้อยแก้วเมืองมา สระแสง เป็นผู้อุปถัมภ์การสร้างวัดสถานหรือวัดสวรรคนิเวศในปัจจุบัน


พระยาราชวงศ์เสกสมรสกับ '''เจ้าหญิงเวียงชื่น เทพวงศ์''' ราชธิดา[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] <ref>[[จังหวัดแพร่]] .รายนามเจ้านายในสมัยขึ้นกรุงเทพ</ref> หากไม่มีเหตุจลาจลพระยาราชวงศ์บุญศรีถือเป็นหนึ่งในผู้สิทธิขึ้นเป็นเจ้าหลวงนครแพร่องค์ถัดไป เนื่องจากขณะนั้นเจ้ากาบคำราชธิดาองค์ในเจ้าพิริยเทพวงษ์ได้ถึงแก่อนิจกรรมลงทำให้เจ้าอุปราช (เจ้าน้อยเสาร์ วราราช)ราชบุตรเขยใหญ่ถูกลดบทบาทตามลงไปด้วย และเจ้าอุปราชเองยังไม่ได้รับรองโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจาก[[กรุงเทพฯ]] ยังเป็นว่าที่เจ้าอุปราชหอหน้าและมีภริยาใหม่ ส่วน[[เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์|เจ้าอินทร์แปลง]]โอรสเพียงองค์เดียวใน[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] กับ[[แม่เจ้าบัวไหล]]อายุยังน้อย และยังไม่มีตำแหน่งใด พระยาราชวงศ์จึงมีบทบาทสำคัญในการช่วยราชการเมืองแพร่บริหารบ้านเมืองร่วมกับเจ้าพิริยเทพวงษ์มาโดยตลอด เจ้าน้อยบุญศรีได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น "พระยาราชบุตร" และเลื่อนขึ้นเป็น"พระยาราชวงศ์" ในปีพ.ศ. 2440 รัชสมัย[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]]<ref>ชัยวุฒิ ไชยชนะ .คดีประวัติศาสตร์</ref> และเป็นเสนาตำแหน่งมหาดไทย ชั้นที่ 3 เอก
6.แม่เจ้าเปี้ย แนวณรงค์


พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) พิราลัย เมื่อปี พ.ศ. 2445 จากการทำ[[อัตวินิบาตกรรม]]โดยดื่มยาพิษพร้อมกับชายาเจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์ ในคุ้มเจ้าราชวงศ์ (ปัจจุบันคุ้มนี้รื้อไปแล้ว)
พระยาราชวงศ์เสกสมรสกับ '''เจ้าหญิงเวียงชื่น เทพวงศ์''' ราชธิดา[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] <ref>[[จังหวัดแพร่]] .รายนามเจ้านายในสมัยขึ้นกรุงเทพ</ref> หากไม่มีเหตุจลาจลพระยาราชวงศ์บุญศรีถือเป็นหนึ่งในผู้สิทธิขึ้นเป็นเจ้าหลวงนครแพร่องค์ถัดไป เนื่องจากขณะนั้นเจ้าอุปราช (เจ้าน้อยเสาร์ วราราช)ราชบุตรเขยใหญ่ ทำหน้าที่เป็นข้าหลวงเมืองเถิน และยังไม่ได้รับรองโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจาก[[กรุงเทพฯ]] ยังเป็นว่าที่เจ้าอุปราชหอหน้าและมีภริยาใหม่ ส่วน[[เจ้าอินทร์แปลง เทพวงศ์|เจ้าอินทร์แปลง]]โอรสเพียงองค์เดียวใน[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]] กับ[[แม่เจ้าบัวไหล]]อายุยังน้อย และยังไม่มีตำแหน่งใด พระยาราชวงศ์จึงเป็นผู้บริหารบ้านเมืองร่วมกับเจ้าหลวงพิริยเทพวงษ์มาโดยตลอด เจ้าน้อยบุญศรีได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น "พระยาราชบุตร" และเลื่อนขึ้นเป็น"พระยาราชวงศ์" ในปีพ.ศ. 2440 รัชสมัย[[เจ้าพิริยเทพวงษ์]]<ref>ชัยวุฒิ ไชยชนะ .คดีประวัติศาสตร์</ref> และเป็นเสนาตำแหน่งมหาดไทย ชั้นที่ 3 เอก

พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) พิราลัย เมื่อปี พ.ศ. 2445 จากการทำ[[อัตวินิบาตกรรม]]โดยดื่มยาพิษพร้อมกับชายาเจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์


==เหตุการณ์กบฎเงี้ยวปล้นเมืองแพร่==
==เหตุการณ์กบฎเงี้ยวปล้นเมืองแพร่==
บรรทัด 46: บรรทัด 44:
# เจ้าปิ่นแก้ว ศรีจันทร์แดง
# เจ้าปิ่นแก้ว ศรีจันทร์แดง
# เจ้าตั๋น ศรีจันทร์แดง (นอกจากนี้ไม่ทราบชื่อ)
# เจ้าตั๋น ศรีจันทร์แดง (นอกจากนี้ไม่ทราบชื่อ)
* เจ้าอินทร์สม (ชาย) บุตรรัตน์ ภรรยาบุตร-ธิดาไม่ทราบชื่อ(ถึงแก่กรรม)
* เจ้าอินทร์สม บุตรรัตน์
* เจ้าดาวคำ ศรุตานนท์ (บุตรรัตน์) สมรสกับหลวงนุภาณศิษยานุสรรค์ มีบุตร-ธิดา 2 คน ได้แก่
* เจ้าดาวคำ ศรุตานนท์ (บุตรรัตน์) สมรสกับหลวงนุภาณศิษยานุสรรค์ มีบุตร-ธิดา 2 คน ได้แก่
# คุณประกายศรี ศรุตานนท์
# คุณประกายศรี ศรุตานนท์
# คุณ[[ประกายพฤกษ์ ศรุตานนท์]] อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์<ref>หมู่บ้าน วังฟ่อน ดอตคอม [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]](ทายาท)</ref>
# คุณ[[ประกายพฤกษ์ ศรุตานนท์]] อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์<ref>หมู่บ้าน วังฟ่อน ดอตคอม [[เจ้าพิริยเทพวงษ์]](ทายาท)</ref>

== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
*พ.ศ. 2442 -เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 5 วิจิตรภรณ์
*พ.ศ. 2444 -เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 4 ภัทราภรณ์


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:30, 28 กรกฎาคม 2564

พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์)

เจ้าน้อยบุญศรี บุตรรัตน์
พระยาราชวงศ์นครแพร่
พิราลัยพ.ศ. 2445
ชายาเจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์
พระบุตรเจ้าอินทร์ตุ้ม บุตรรัตน์
เจ้าอินทร์สม บุตรรัตน์
เจ้าดาวคำ บุตรรัตน์
ราชวงศ์ราชวงศ์เทพวงศ์
พระบิดาเจ้าราชบุตร (หนานขัตติยะ บุตรรัตน์)
พระมารดาแม่เจ้าพิมพา บุตรรัตน์

พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) หรือ เจ้าน้อยบุญศรี พระยาราชวงศ์องค์สุดท้ายแห่งนครแพร่ อดีตเสนามหาดไทยเมืองนครแพร่ เป็นโอรสในเจ้าราชบุตร (หนานขัตติยะ) กับแม่เจ้าพิมพา และเป็นราชบุตรเขยเจ้าพิริยเทพวงษ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22

พระประวัติ

พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) หรือ เจ้าน้อยบุญศรี เป็นโอรสองค์โตในเจ้าราชบุตร (เจ้าหนานขัตติยะ) ต้นสกุลบุตรรัตน์ กับแม่เจ้าพิมพา มีเจ้าน้องร่วมเจ้าบิดามารดาอีก 5 คน ได้แก่

1.เจ้าหนานอินต๊ะ บุตรรัตน์ สมรสกับเจ้านกแก้ว บุตรรัตน์

2.เจ้าน้อยจุ๋งแก้ว บุตรรัตน์ สมรสกับแม่นายมา บุตรรัตน์

3.เจ้าเฮือนแก้ว วังซ้าย สมรสกับเจ้าหนานพรหม วังซ้าย

4.เจ้าน้อยแก้วเมืองมา สระแสง เป็นผู้อุปถัมภ์การสร้างวัดสถานหรือวัดสวรรคนิเวศในปัจจุบัน สมรสกับเจ้าคำปันดี

5.เจ้าเปี้ย แนวณรงค์ สมรสกับนายน้อยนิล แนวณรงค์

พระยาราชวงศ์เสกสมรสกับ เจ้าหญิงเวียงชื่น เทพวงศ์ ราชธิดาเจ้าพิริยเทพวงษ์ [1] หากไม่มีเหตุจลาจลพระยาราชวงศ์บุญศรีถือเป็นหนึ่งในผู้สิทธิขึ้นเป็นเจ้าหลวงนครแพร่องค์ถัดไป เนื่องจากขณะนั้นเจ้ากาบคำราชธิดาองค์ในเจ้าพิริยเทพวงษ์ได้ถึงแก่อนิจกรรมลงทำให้เจ้าอุปราช (เจ้าน้อยเสาร์ วราราช)ราชบุตรเขยใหญ่ถูกลดบทบาทตามลงไปด้วย และเจ้าอุปราชเองยังไม่ได้รับรองโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจากกรุงเทพฯ ยังเป็นว่าที่เจ้าอุปราชหอหน้าและมีภริยาใหม่ ส่วนเจ้าอินทร์แปลงโอรสเพียงองค์เดียวในเจ้าพิริยเทพวงษ์ กับแม่เจ้าบัวไหลอายุยังน้อย และยังไม่มีตำแหน่งใด พระยาราชวงศ์จึงมีบทบาทสำคัญในการช่วยราชการเมืองแพร่บริหารบ้านเมืองร่วมกับเจ้าพิริยเทพวงษ์มาโดยตลอด เจ้าน้อยบุญศรีได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น "พระยาราชบุตร" และเลื่อนขึ้นเป็น"พระยาราชวงศ์" ในปีพ.ศ. 2440 รัชสมัยเจ้าพิริยเทพวงษ์[2] และเป็นเสนาตำแหน่งมหาดไทย ชั้นที่ 3 เอก

พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) พิราลัย เมื่อปี พ.ศ. 2445 จากการทำอัตวินิบาตกรรมโดยดื่มยาพิษพร้อมกับชายาเจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์ ในคุ้มเจ้าราชวงศ์ (ปัจจุบันคุ้มนี้รื้อไปแล้ว)

เหตุการณ์กบฎเงี้ยวปล้นเมืองแพร่

ในปีพ.ศ. 2445 ได้เกิดความไม่สงบขึ้นในเมืองแพร่ โดยพวกไทใหญ่หรือเงี้ยวที่ได้เข้ามาอยู่อาศัยในเมืองแพร่ และทำมาหากินในการขุดพลอย ประเภทพลอยไพลินที่ตำบลบ่อแก้ว อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ในปัจจุบัน ได้ทำการก่อจลาจลในเมืองแพร่เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2445[3] จากเหตุการณ์ครั้งนี้ เจ้าหลวงนครแพร่ถูกกล่าวหาว่าคบกับพวกเงี้ยว จากหลักฐานต่างๆ เจ้าหลวงนครแพร่ เจ้าราชบุตร เจ้าไชยสงคราม มีส่วนสนับสนุนให้กองโจรเงี้ยวก่อการกบฎขึ้นอย่างแน่นอน และเชื่อว่าต้องมีการตระเตรียมการล่วงหน้ามาช้านานพอสมควรก่อนที่เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีจะได้ชำระความผิดผู้ใด เจ้าราชวงศ์และชายา ก็ตกใจกลัวความผิด ดื่มยาพิษฆ่าตัวตายเสียก่อน เพราะได้ข่าวลือว่ารัฐบาลจะประหารชีวิตผู้เกี่ยวข้องกับขบฎเงี้ยวทุกคน

โอรส-ธิดา

พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) เสกสมรสกับเจ้าเวียงชื่น เทพวงศ์ มีโอรส-ธิดา 3 คน ได้แก่

  • เจ้าอินทร์ตุ้ม ศรีจันทร์แดง (บุตรรัตน์) สมรสกับเจ้าน้อยไชยวงศ์ ศรีจันทร์แดง มีบุตร-ธิดา ได้แก่
  1. เจ้าศรีมุ หัวเมืองแก้ว (ศรีจันทร์แดง)
  2. จ.ส.ต.เจ้าบุญปั๋น ศรีจันทร์แดง
  3. เจ้าปิ่นแก้ว ศรีจันทร์แดง
  4. เจ้าตั๋น ศรีจันทร์แดง (นอกจากนี้ไม่ทราบชื่อ)
  • เจ้าอินทร์สม บุตรรัตน์
  • เจ้าดาวคำ ศรุตานนท์ (บุตรรัตน์) สมรสกับหลวงนุภาณศิษยานุสรรค์ มีบุตร-ธิดา 2 คน ได้แก่
  1. คุณประกายศรี ศรุตานนท์
  2. คุณประกายพฤกษ์ ศรุตานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • พ.ศ. 2442 -เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 5 วิจิตรภรณ์
  • พ.ศ. 2444 -เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 4 ภัทราภรณ์

อ้างอิง

  1. จังหวัดแพร่ .รายนามเจ้านายในสมัยขึ้นกรุงเทพ
  2. ชัยวุฒิ ไชยชนะ .คดีประวัติศาสตร์
  3. ภูเดช แสนสา .กบฏเงี้ยว พ.ศ. ๒๔๔๕” การต่อต้านสยามของประเทศราชล้านนา
  4. หมู่บ้าน วังฟ่อน ดอตคอม เจ้าพิริยเทพวงษ์(ทายาท)
ก่อนหน้า พระยาราชวงศ์ (บุญศรี บุตรรัตน์) ถัดไป
พระยาราชวงศ์ (น้อยคันธรส) พระยาราชวงศ์แห่งนครแพร่
(? - พ.ศ. 2445)
รัฐบาลสยามยกเลิกตำแหน่ง