ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนริเฟ"

พิกัด: 28°28′54″N 16°20′18″W / 28.48165°N 16.3384°W / 28.48165; -16.3384
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 61: บรรทัด 61:
}}
}}


'''ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนริเฟ''' เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1977 เมื่อ[[เครื่องบิน|เครื่องบินโดยสาร]][[โบอิง 747]] ของสายการบิน[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์|แพนแอม]]และ[[เคแอลเอ็ม]] ชนกันบน[[ทางวิ่งเครื่องบิน|ทางวิ่ง]]ของ[[ท่าอากาศยาน]]โลสโรเดโอส (ปัจจุบันคือท่าอากาศยานนอร์ทเตเนริเฟ) ที่[[เกาะเตเนริเฟ]]ใน[[หมู่เกาะคะแนรี]]ของ[[สเปน]] ทำให้มีผู้เสียชีวิต 583 คน นับเป็นอุบัติเหตุทางการบินที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน จากผลของอิทธิพลขององค์กร สภาพแวดล้อม และการกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่นำไปสู่หายนะครั้งนี้เป็นตัวอย่างในการทบทวนกระบวนการและกรอบงานสำหรับการสอบสวนหายนะและการป้องกันอุบัติเหตุทางการบิน<ref>{{cite news|title=TENERIFE DISASTER - 27 MARCH 1977: The Utility of the Swiss Cheese Model & other Accident Causation Frameworks|url=http://goflightmedicine.com/tenerife-disaster/|accessdate=13 October 2014|publisher=Go Flight Medicine}}</ref>
'''ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนริเฟ''' เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1977 เมื่อ[[เครื่องบิน|เครื่องบินโดยสาร]][[โบอิง 747]] ของสายการบิน[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์|แพนแอม]]และ[[เคแอลเอ็ม]] ชนกันบน[[ทางวิ่งเครื่องบิน|ทางวิ่ง]]ของ[[ท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต|ท่าอากาศยานโลสโรเดโอส]] (ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต) ที่[[เกาะเตเนริเฟ]]ใน[[หมู่เกาะคะแนรี]]ของ[[สเปน]] ทำให้มีผู้เสียชีวิต 583 คน นับเป็นอุบัติเหตุทางการบินที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน จากผลของอิทธิพลขององค์กร สภาพแวดล้อม และการกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่นำไปสู่หายนะครั้งนี้เป็นตัวอย่างในการทบทวนกระบวนการและกรอบงานสำหรับการสอบสวนหายนะและการป้องกันอุบัติเหตุทางการบิน<ref>{{cite news|title=TENERIFE DISASTER - 27 MARCH 1977: The Utility of the Swiss Cheese Model & other Accident Causation Frameworks|url=http://goflightmedicine.com/tenerife-disaster/|accessdate=13 October 2014|publisher=Go Flight Medicine}}</ref>


== เหตุการณ์ ==
== เหตุการณ์ ==
บรรทัด 68: บรรทัด 68:
จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์เกิดจากเหตุขู่วางระเบิดในเวลา 13.05 น. ต่อมาอีก 10 นาที เวลา 13.15 น. เกิดระเบิดที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียตามคำขู่และมีการขู่วางระเบิดลูกที่สอง ทำให้เครื่องบินหลายลำต้องเปลี่ยนมาลงที่ท่าอากาศยานโลสโรเดโอสซึ่งเล็กกว่าแทน ในตอนแรกแพนแอมเที่ยวบิน 1736 ขอต่อรองบินวน แต่เจ้าหน้าที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียไม่อนุญาตและบังคับให้แพนแอมทำการบินลงที่ท่าอากาศยานโลสโรเดโอส เจ้าหน้าที่ของท่าอากาศยานโลสโรเดโอสรายงานว่าตั้งแต่ทำงานวันที่เกิดเหตุเครื่องบินมาลงจำนวนเยอะมากที่สุด เขาจึงต้องทำงานอย่างหนักในการจัดระเบียบเครื่องบินที่มาลงจอดที่นี่ เพื่อรอเวลาที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียจะเปิดใช้อีกครั้ง
จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์เกิดจากเหตุขู่วางระเบิดในเวลา 13.05 น. ต่อมาอีก 10 นาที เวลา 13.15 น. เกิดระเบิดที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียตามคำขู่และมีการขู่วางระเบิดลูกที่สอง ทำให้เครื่องบินหลายลำต้องเปลี่ยนมาลงที่ท่าอากาศยานโลสโรเดโอสซึ่งเล็กกว่าแทน ในตอนแรกแพนแอมเที่ยวบิน 1736 ขอต่อรองบินวน แต่เจ้าหน้าที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียไม่อนุญาตและบังคับให้แพนแอมทำการบินลงที่ท่าอากาศยานโลสโรเดโอส เจ้าหน้าที่ของท่าอากาศยานโลสโรเดโอสรายงานว่าตั้งแต่ทำงานวันที่เกิดเหตุเครื่องบินมาลงจำนวนเยอะมากที่สุด เขาจึงต้องทำงานอย่างหนักในการจัดระเบียบเครื่องบินที่มาลงจอดที่นี่ เพื่อรอเวลาที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียจะเปิดใช้อีกครั้ง


กัปตันของสายการบินเคแอลเอ็มได้สั่งให้ลูกเรือนำผู้โดยสารทั้งหมดลงจากเครื่องเพื่อลดความเครียดจากการเดินทาง เขายังสั่งเต็มน้ำมันเครื่องบินให้เต็มถังเนื่องจากราคาน้ำมันที่นี่ราคาถูก ระหว่างที่เครื่องบินสายการบินเคแอลเอ็มกำลังเติมน้ำมันนักบินของสายการบิน[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์]] ได้ถามว่าจะใช้เวลากี่นาที ซึ่งนักบินของเคแอลเอ็มตอบว่า 45 นาที ส่งผลให้นักบินแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์ อารมณ์เสียเป็นอย่างมาก เนื่องจากกัปตันแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์ ได้สั่งให้ลูกเรือและผู้โดยสารอยู่บนเครื่องบินตลอดเวลา
กัปตันของสายการบินเคแอลเอ็มได้สั่งให้ลูกเรือนำผู้โดยสารทั้งหมดลงจากเครื่องเพื่อลดความเครียดจากการเดินทาง เขายังสั่งเต็มน้ำมันเครื่องบินให้เต็มถังเนื่องจากราคาน้ำมันที่นี่ราคาถูก ระหว่างที่เครื่องบินสายการบินเคแอลเอ็มกำลังเติมน้ำมันนักบินของสายการบิน[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์]] ได้ถามว่าจะใช้เวลากี่นาที ซึ่งนักบินของเคแอลเอ็มตอบว่า 45 นาที ส่งผลให้นักบินแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์อารมณ์เสียเป็นอย่างมาก เนื่องจากกัปตันแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์ได้สั่งให้ลูกเรือและผู้โดยสารอยู่บนเครื่องบินตลอดเวลา


เมื่อท่าอากาศยานกรันกานาเรียเปิดใช้อีกครั้ง เจ้าหน้าที่ได้พยายามจัดการทางวิ่งที่มีเครื่องบิน 5 ลำจอดรออยู่ รวมถึงเครื่องบินของสายการบินแพนแอม เที่ยวบินที่ 1736 ที่เดินทางมาจาก[[ลอสแอนเจลิส]]โดยแวะพักที่[[นิวยอร์ก]]และเครื่องบินของสายการบินเคแอลเอ็ม เที่ยวบินที่ 4805 ที่เดินทางมาจาก[[อัมสเตอร์ดัม]] [[หมอก]]ที่ลงจัดทำให้หอบังคับการบินมองไม่เห็นเครื่องบินทั้งสองลำ อีกทั้งเครื่องบินทั้งสองลำก็ไม่มี[[เรดาร์]]ภาคพื้นดิน ทำให้หอบังคับการบินไม่ทราบตำแหน่งและต้องใช้วิธีการสื่อสารแทน
เมื่อท่าอากาศยานกรันกานาเรียเปิดใช้อีกครั้ง เจ้าหน้าที่ได้พยายามจัดการทางวิ่งที่มีเครื่องบิน 5 ลำจอดรออยู่ รวมถึงเครื่องบินของสายการบินแพนแอม เที่ยวบินที่ 1736 ที่เดินทางมาจาก[[ลอสแอนเจลิส]]โดยแวะพักที่[[นิวยอร์ก]]และเครื่องบินของสายการบินเคแอลเอ็ม เที่ยวบินที่ 4805 ที่เดินทางมาจาก[[อัมสเตอร์ดัม]] [[หมอก]]ที่ลงจัดทำให้หอบังคับการบินมองไม่เห็นเครื่องบินทั้งสองลำ อีกทั้งเครื่องบินทั้งสองลำก็ไม่มี[[เรดาร์]]ภาคพื้นดิน ทำให้หอบังคับการบินไม่ทราบตำแหน่งและต้องใช้วิธีการสื่อสารแทน
บรรทัด 75: บรรทัด 75:


== การสอบสวนสาเหตุ ==
== การสอบสวนสาเหตุ ==
เนื่องจากอุบัติเหตุเกิดขึ้นในดินแดนของสเปน เจ้าหน้าที่จากประเทศสเปนจึงเข้ามาสอบสวนสาเหตุ เหตุการชนเกี่ยวกับเครื่องบินจากสหรัฐอเมริกาและเนเธอร์แลนด์ ทั้งสองประเทศจึงเข้ามาสืบสวนสาเหตุเช่นกัน จากการสืบสวนพบว่าสาเหตุหลักของอุบัติเหตุคือเที่ยวบินเคแอลเอ็มแล่นขึ้นโดยยังไม่ได้รับสัญญาณจากหอบังคับการบิน การสอบสวนระบุว่ากัปตันไม่ได้ตั้งใจแล่นขึ้นโดยไม่อาศัยสัญญาณ แต่เนื่องจากความเข้าใจผิดของลูกเรือเที่ยวบินเคแอลเอ็มและหอบังคับการบิน ทำให้เขาเชื่อว่าเขาได้รับสัญญาณให้แล่นขึ้นแล้ว ผู้สืบสวนชาวดัตช์ให้ความสนใจเหตุครั้งนี้มากกว่าผู้สืบสวนชาวอเมริกันและสเปน แต่ในที่สุดแล้ว เคแอลเอ็มยอมรับว่าลูกเรือมีส่วนให้เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ นโยบายของบริษัทที่ห้ามเครื่องบินดีเลย์ขู่ฟ้องร้องกัปตัน ส่งผลให้กัปตันรีบร้อนและต่อมาสายการบินชดเชยค่าเสียหายให้ญาติผู้เสียชีวิต
เนื่องจากอุบัติเหตุเกิดขึ้นในดินแดนของสเปน เจ้าหน้าที่จากประเทศสเปนจึงเข้ามาสอบสวนสาเหตุ เหตุการชนเกี่ยวกับเครื่องบินจากสหรัฐอเมริกาและเนเธอร์แลนด์ ทั้งสองประเทศจึงเข้ามาสืบสวนสาเหตุเช่นกัน จากการสืบสวนพบว่าสาเหตุหลักของอุบัติเหตุคือเที่ยวบิน[[เคแอลเอ็ม]]แล่นขึ้นโดยยังไม่ได้รับสัญญาณจากหอบังคับการบิน การสอบสวนระบุว่ากัปตันไม่ได้ตั้งใจแล่นขึ้นโดยไม่อาศัยสัญญาณ แต่เนื่องจากความเข้าใจผิดของลูกเรือเที่ยวบินเคแอลเอ็มและหอบังคับการบิน ทำให้เขาเชื่อว่าเขาได้รับสัญญาณให้แล่นขึ้นแล้ว ผู้สืบสวนชาวดัตช์ให้ความสนใจเหตุครั้งนี้มากกว่าผู้สืบสวนชาวอเมริกันและสเปน แต่ในที่สุดแล้ว เคแอลเอ็มยอมรับว่าลูกเรือมีส่วนให้เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ นโยบายของบริษัทที่ห้ามเครื่องบินดีเลย์ขู่ฟ้องร้องกัปตัน ส่งผลให้กัปตันรีบร้อนและต่อมาสายการบินชดเชยค่าเสียหายให้ญาติผู้เสียชีวิต


อุบัติเหตุครั้งนี้มีหลายสาเหตุเริ่มจากการวางระเบิดที่สนามบิน การที่สายการบิน[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์]]ไม่ได้รับอนุญาตให้บินวนเพื่อรอลงจอด กัปตันของเคแอลเอ็มไม่ได้บินเป็นระยะเวลา 3 เดือน เนื่องจากทำหน้าที่สอนนักบินใหม่ในห้องทำการบินจำลอง ซึ่งทีมสอบสวนให้ความเห็นว่าการฝึกสอนในห้องทำการบินจำลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน ส่งผลให้เขาขาดทักษะการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศ เนื่องจากในห้องทำการบินจำลองจะไม่มีการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศเลย
อุบัติเหตุครั้งนี้มีหลายสาเหตุ เริ่มจากการวางระเบิดที่สนามบิน การที่สายการบิน[[แพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์]]ไม่ได้รับอนุญาตให้บินวนเพื่อรอลงจอด กัปตันของเคแอลเอ็มไม่ได้บินเป็นระยะเวลา 3 เดือน เนื่องจากทำหน้าที่สอนนักบินใหม่ในห้องทำการบินจำลอง ซึ่งทีมสอบสวนให้ความเห็นว่าการฝึกสอนในห้องทำการบินจำลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน ส่งผลให้เขาขาดทักษะการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศ เนื่องจากในห้องทำการบินจำลองจะไม่มีการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศ รวมถึงนโยบายห้ามไปถึงที่หมายสายของเคแอลเอ็ม ซึ่งมีโทษถึงขั้นฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากนักบิน ยกเลิกเที่ยวบิน และสูงสุดคือยึดใบอนุญาตทำการบินเชิงพาณิชย์ การสื่อสารที่ไม่ชัดเจนด้วยสำเนียงภาษาอังกฤษแบบสเปนของหอบังคับการบินทำให้ฟังยากส่งผลให้ต้องถามซ้ำเพื่อความแน่ใจ


นอกจากนี้สาเหตุยังมาจากกัปตันของเคแอลเอ็มตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถังเครื่องที่สนามบินเนื่องจากราคาถูกกว่าสนามบินปลายทาง จึงทำให้เกิดระเบิดขนาดใหญ่เนื่องจากมีน้ำมันเชื้อเพลิงจำนวนมาก ท่าอากาศยานไม่พร้อมสำหรับเครื่องบินขนาดใหญ่จำนวนมาก หมอกที่ลงจัดจนทำให้เจ้าหน้าที่รับทราบอุบัติเหตุช้ากว่า ต้องรอนักบินสายการบินอื่นแจ้ง ทัศนวิสัยของสนามบิน การสื่อสารพร้อมกันส่งผลให้มีคลื่นแทรกในประโยคสำคัญซึ่งหากไม่มีคลื่นวิทยุแทรกราว 4 วินาที และนักบินรับทราบประโยคนั้นอาจช่วยให้ไม่เกิดอุบัติเหตุ การทำงานหนักของหอบังคับการบิน [[โรงพยาบาล]] และ[[รถดับเพลิงอากาศยาน]] รวมถึงการที่กัปตันของเคแอลเอ็มไม่ฟังนักบินผู้ช่วยที่ได้เตือนกัปตันแล้วว่ายังไม่ได้รับอนุญาตทำการบิน เนื่องจากกัปตันรีบจะไปถึงปลายทางให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
นโยบายห้ามไปถึงที่หมายสายของเคแอลเอ็มถึงขั้นฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายนักบิน ยกเลิกเที่ยวบิน และสูงสุดคือยึดใบอนุญาตทำการบินเชิงพาณิชย์

การสื่อสารที่ไม่ชัดเจนสำเนียงภาษาอังกฤษแบบสเปนของหอบังคับการบินฟังยากทำให้ต้องถามซ้ำเพื่อความแน่ใจ กัปตันของเคแอลเอ็มตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถังเครื่องที่สนามบินเนื่องจากราคาถูกกว่าสนามบินปลายทางซึ่งต่อมาทำให้เกิดระเบิดขนาดใหญ่หลังอุบัติเหตุเนื่องจากน้ำมันเชื้อเพลิงที่เป็นเชื้อเพลิงนั้นมีจำนวนมาก

ท่าอากาศยานไม่พร้อมสำหรับเครื่องบินขนาดใหญ่จำนวนมาก หมอกที่ลงจัดจนทำให้รับทราบอุบัติเหตุช้ากว่าเจ้าหน้าที่จะรับทราบต้องรอนักบินสายการบินอื่นแจ้ง ทัศนวิสัยของสนามบิน การสื่อสารพร้อมกันส่งผลให้มีคลื่นแทรกในประโยคสำคัญซึ่งหากไม่มีคลื่นวิทยุแทรก ราว 4 วินาที และนักบินรับทราบประโยคนั้นอาจช่วยให้ไม่เกิดอุบัติเหตุ

รถดับเพลิงมีจำนวนน้อยและเข้าถึงเหตุได้ยากการทำงานหนักแบบที่ไม่เคยเจอมาก่อนของหอบังคับการบิน [[โรงพยาบาล]] [[รถดับเพลิงอากาศยาน]]

การที่กัปตันของเคแอลเอ็มไม่ฟังนักบินผู้ช่วยที่ได้เตือนกัปตันแล้วว่ายังไม่ได้รับอนุญาตทำการบินเนื่องจากกัปตันรีบจะไปถึงปลายทางให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:48, 25 กุมภาพันธ์ 2564

ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนริเฟ
เคแอลเอ็ม เที่ยวบินที่ 4805 · แพนแอม เที่ยวบินที่ 1736
ซากอากาศยานเคแอลเอ็มบนทางวิ่งเครื่องบิน
สรุปอุบัติการณ์
วันที่27 มีนาคม ค.ศ. 1977
สรุป
  • ความผิดพลาดของนักบิน
  • การรุกล้ำเข้าไปในทางวิ่ง[1]
  • หมอกลงจัด
  • ความล้มเหลวในการสื่อสารทางหอบังคับการบิน
จุดเกิดเหตุท่าอากาศยานโลสโรเดโอส
(ปัจจุบันคือ ท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต)
เกาะเตเนริเฟ หมู่เกาะคะแนรี สเปน
28°28′54″N 16°20′18″W / 28.48165°N 16.3384°W / 28.48165; -16.3384
เสียชีวิต583 คน
บาดเจ็บ61 คน
รอดชีวิต61 คน
อากาศยานลำแรก

ลำที่เกิดเหตุ
ประเภทโบอิง 747-206B
ชื่ออากาศยานRijn ("แม่น้ำไรน์")
ดําเนินการโดยเคแอลเอ็ม
หมายเลขเที่ยวบิน IATAKL4805
หมายเลขเที่ยวบิน ICAOKLM4805
รหัสเรียกKLM 4805
ทะเบียนPH-BUF
ต้นทางท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล
อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์
ปลายทางท่าอากาศยานกรันกานาเรีย
กรันกานาเรีย, หมู่เกาะคะแนรี
จำนวนคน248 คน
ผู้โดยสาร234 คน
ลูกเรือ14 คน
เสียชีวิต248 คน
รอดชีวิต0
อากาศยานลำที่สอง

ลำที่เกิดเหตุ
ประเภทโบอิง 747-121
ชื่อคลิปเปอร์วิกเตอร์
ดำเนินการโดยแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์
หมายเลขเที่ยวบิน IATAPA1736
หมายเลขเที่ยวบิน ICAOPAA1736
รหัสเรียกCLIPPER 1736
ทะเบียนN736PA
ต้นทางท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส
ลอสแอนเจลิส, สหรัฐ
จุดพักท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี, นครนิวยอร์ก, สหรัฐ
ปลายทางท่าอากาศยานกรันกานาเรีย
กรันกานาเรีย, หมู่เกาะคะแนรี
จำนวนคน396 คน
ผู้โดยสาร380 คน
ลูกเรือ16 คน
เสียชีวิต335 คน
บาดเจ็บ61 คน
รอดชีวิต61 คน

ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนริเฟ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1977 เมื่อเครื่องบินโดยสารโบอิง 747 ของสายการบินแพนแอมและเคแอลเอ็ม ชนกันบนทางวิ่งของท่าอากาศยานโลสโรเดโอส (ปัจจุบันคือท่าอากาศยานเตเนริเฟนอร์เต) ที่เกาะเตเนริเฟในหมู่เกาะคะแนรีของสเปน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 583 คน นับเป็นอุบัติเหตุทางการบินที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน จากผลของอิทธิพลขององค์กร สภาพแวดล้อม และการกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่นำไปสู่หายนะครั้งนี้เป็นตัวอย่างในการทบทวนกระบวนการและกรอบงานสำหรับการสอบสวนหายนะและการป้องกันอุบัติเหตุทางการบิน[2]

เหตุการณ์

แผนภาพเหตุการณ์

จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์เกิดจากเหตุขู่วางระเบิดในเวลา 13.05 น. ต่อมาอีก 10 นาที เวลา 13.15 น. เกิดระเบิดที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียตามคำขู่และมีการขู่วางระเบิดลูกที่สอง ทำให้เครื่องบินหลายลำต้องเปลี่ยนมาลงที่ท่าอากาศยานโลสโรเดโอสซึ่งเล็กกว่าแทน ในตอนแรกแพนแอมเที่ยวบิน 1736 ขอต่อรองบินวน แต่เจ้าหน้าที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียไม่อนุญาตและบังคับให้แพนแอมทำการบินลงที่ท่าอากาศยานโลสโรเดโอส เจ้าหน้าที่ของท่าอากาศยานโลสโรเดโอสรายงานว่าตั้งแต่ทำงานวันที่เกิดเหตุเครื่องบินมาลงจำนวนเยอะมากที่สุด เขาจึงต้องทำงานอย่างหนักในการจัดระเบียบเครื่องบินที่มาลงจอดที่นี่ เพื่อรอเวลาที่ท่าอากาศยานกรันกานาเรียจะเปิดใช้อีกครั้ง

กัปตันของสายการบินเคแอลเอ็มได้สั่งให้ลูกเรือนำผู้โดยสารทั้งหมดลงจากเครื่องเพื่อลดความเครียดจากการเดินทาง เขายังสั่งเต็มน้ำมันเครื่องบินให้เต็มถังเนื่องจากราคาน้ำมันที่นี่ราคาถูก ระหว่างที่เครื่องบินสายการบินเคแอลเอ็มกำลังเติมน้ำมันนักบินของสายการบินแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์ ได้ถามว่าจะใช้เวลากี่นาที ซึ่งนักบินของเคแอลเอ็มตอบว่า 45 นาที ส่งผลให้นักบินแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์อารมณ์เสียเป็นอย่างมาก เนื่องจากกัปตันแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์ได้สั่งให้ลูกเรือและผู้โดยสารอยู่บนเครื่องบินตลอดเวลา

เมื่อท่าอากาศยานกรันกานาเรียเปิดใช้อีกครั้ง เจ้าหน้าที่ได้พยายามจัดการทางวิ่งที่มีเครื่องบิน 5 ลำจอดรออยู่ รวมถึงเครื่องบินของสายการบินแพนแอม เที่ยวบินที่ 1736 ที่เดินทางมาจากลอสแอนเจลิสโดยแวะพักที่นิวยอร์กและเครื่องบินของสายการบินเคแอลเอ็ม เที่ยวบินที่ 4805 ที่เดินทางมาจากอัมสเตอร์ดัม หมอกที่ลงจัดทำให้หอบังคับการบินมองไม่เห็นเครื่องบินทั้งสองลำ อีกทั้งเครื่องบินทั้งสองลำก็ไม่มีเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้หอบังคับการบินไม่ทราบตำแหน่งและต้องใช้วิธีการสื่อสารแทน

ผลของการสื่อสารที่ผิดพลาดทำให้นักบินของเครื่องบินเคแอลเอ็ม ตัดสินใจบินขึ้นในขณะที่เครื่องบินของแพนแอมยังอยู่บนทางวิ่ง ทำให้เกิดการชนกันและระเบิดเป็นลูกไฟขนาดใหญ่ ผู้โดยสารและลูกเรือบนเครื่องบินเคแอลเอ็มทั้งหมด 248 คนเสียชีวิต ส่วนผู้โดยสารและลูกเรือบนเครื่องบินแพนแอมเสียชีวิต 335 คน บาดเจ็บ 61 คน รวมยอดผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ 583 คน

การสอบสวนสาเหตุ

เนื่องจากอุบัติเหตุเกิดขึ้นในดินแดนของสเปน เจ้าหน้าที่จากประเทศสเปนจึงเข้ามาสอบสวนสาเหตุ เหตุการชนเกี่ยวกับเครื่องบินจากสหรัฐอเมริกาและเนเธอร์แลนด์ ทั้งสองประเทศจึงเข้ามาสืบสวนสาเหตุเช่นกัน จากการสืบสวนพบว่าสาเหตุหลักของอุบัติเหตุคือเที่ยวบินเคแอลเอ็มแล่นขึ้นโดยยังไม่ได้รับสัญญาณจากหอบังคับการบิน การสอบสวนระบุว่ากัปตันไม่ได้ตั้งใจแล่นขึ้นโดยไม่อาศัยสัญญาณ แต่เนื่องจากความเข้าใจผิดของลูกเรือเที่ยวบินเคแอลเอ็มและหอบังคับการบิน ทำให้เขาเชื่อว่าเขาได้รับสัญญาณให้แล่นขึ้นแล้ว ผู้สืบสวนชาวดัตช์ให้ความสนใจเหตุครั้งนี้มากกว่าผู้สืบสวนชาวอเมริกันและสเปน แต่ในที่สุดแล้ว เคแอลเอ็มยอมรับว่าลูกเรือมีส่วนให้เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ นโยบายของบริษัทที่ห้ามเครื่องบินดีเลย์ขู่ฟ้องร้องกัปตัน ส่งผลให้กัปตันรีบร้อนและต่อมาสายการบินชดเชยค่าเสียหายให้ญาติผู้เสียชีวิต

อุบัติเหตุครั้งนี้มีหลายสาเหตุ เริ่มจากการวางระเบิดที่สนามบิน การที่สายการบินแพนอเมริกันเวิลด์แอร์เวส์ไม่ได้รับอนุญาตให้บินวนเพื่อรอลงจอด กัปตันของเคแอลเอ็มไม่ได้บินเป็นระยะเวลา 3 เดือน เนื่องจากทำหน้าที่สอนนักบินใหม่ในห้องทำการบินจำลอง ซึ่งทีมสอบสวนให้ความเห็นว่าการฝึกสอนในห้องทำการบินจำลองเป็นระยะเวลา 3 เดือน ส่งผลให้เขาขาดทักษะการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศ เนื่องจากในห้องทำการบินจำลองจะไม่มีการสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศ รวมถึงนโยบายห้ามไปถึงที่หมายสายของเคแอลเอ็ม ซึ่งมีโทษถึงขั้นฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากนักบิน ยกเลิกเที่ยวบิน และสูงสุดคือยึดใบอนุญาตทำการบินเชิงพาณิชย์ การสื่อสารที่ไม่ชัดเจนด้วยสำเนียงภาษาอังกฤษแบบสเปนของหอบังคับการบินทำให้ฟังยากส่งผลให้ต้องถามซ้ำเพื่อความแน่ใจ

นอกจากนี้สาเหตุยังมาจากกัปตันของเคแอลเอ็มตัดสินใจเติมน้ำมันให้เต็มถังเครื่องที่สนามบินเนื่องจากราคาถูกกว่าสนามบินปลายทาง จึงทำให้เกิดระเบิดขนาดใหญ่เนื่องจากมีน้ำมันเชื้อเพลิงจำนวนมาก ท่าอากาศยานไม่พร้อมสำหรับเครื่องบินขนาดใหญ่จำนวนมาก หมอกที่ลงจัดจนทำให้เจ้าหน้าที่รับทราบอุบัติเหตุช้ากว่า ต้องรอนักบินสายการบินอื่นแจ้ง ทัศนวิสัยของสนามบิน การสื่อสารพร้อมกันส่งผลให้มีคลื่นแทรกในประโยคสำคัญซึ่งหากไม่มีคลื่นวิทยุแทรกราว 4 วินาที และนักบินรับทราบประโยคนั้นอาจช่วยให้ไม่เกิดอุบัติเหตุ การทำงานหนักของหอบังคับการบิน โรงพยาบาล และรถดับเพลิงอากาศยาน รวมถึงการที่กัปตันของเคแอลเอ็มไม่ฟังนักบินผู้ช่วยที่ได้เตือนกัปตันแล้วว่ายังไม่ได้รับอนุญาตทำการบิน เนื่องจากกัปตันรีบจะไปถึงปลายทางให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้

อ้างอิง

  1. การสอบสวนอุบัติเหตุทางการบินที่เกิดจากมนุษย์ปัจจัย (Human Factors in Aircraft Accident Investigation)
  2. "TENERIFE DISASTER - 27 MARCH 1977: The Utility of the Swiss Cheese Model & other Accident Causation Frameworks". Go Flight Medicine. สืบค้นเมื่อ 13 October 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น