ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาบู่ทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== การดัดแปลง ==
ปลาบู่ทองถูกนำมาสร้างครั้งแรกเป็นภาพยนตร์ 16 มม. สร้างโดย เทพกรภาพยนตร์ โดย กิติมา เศรษฐภักดี เป็นผู้อำนวยการสร้าง กำกับโดย [[อำนวย กลัสนิมิ]] (ครูเนรมิต) ออกฉายครั้งแรกวันที่ 20 สิงหาคม 2508 ที่โรงหนังเฉลิมบุรี ต่อมาปลาบู่ทองถูกนำมาทำเป็นภาพยนตร์โทรทัศน์จักรๆวงศ์ๆครั้งแรกทาง [[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] ในปี พ.ศ. 2510 เป็นภาพยนตร์โทรทัศน์เรื่องแรกของ [[ดาราวิดีโอ|ดาราฟิล์ม]] กำกับโดย [[ไพรัช สังวริบุตร]] บทโดย ประสม สง่าเนตร มีเพลงนำเรื่องขับร้องโดย [[เพ็ญศรี พุ่มชูศรี]] ต่อมาในปี พ.ศ. 2515 นำมาเป็นภาพยนตร์ 35 มม. ออกฉายในชื่อเรื่อง "แม่ปลาบู่" โดย วนิชศิลปภาพยนตร์ ของ อนันต์ ชลวนิช ออกฉายวันที่ 14 พฤศจิกายน 2515 โดยฉายที่โรงภาพยนตร์นิวบรอดเวย์

ปลาบู่ทองถูกนำมาทำเป็นภาพยนตร์อีก 3 ครั้ง
* ในปี พ.ศ. 2522 กำกับโดย ชิต ไทรทอง สร้างโดย ศิริมงคลโปรดัคชั่น อำนวยการสร้างโดย ชาญชัย เนตรขำคม เข้าฉายเมื่อ 7 กรกฎาคม
* ในปี พ.ศ. 2527 กำกับโดย วิเชียร วีระโชติ อำนวยการสร้างโดย วิษณุ นาคสู่สุข สร้างโดย วิษณุภาพยนตร์
* ในปี พ.ศ. 2537 สร้างโดย กรุ๊ฟโฟร์ โปรดักชั่น กำกับโดย สิทธิชัย พัฒนดำเกิง บทภาพยนตร์โดย อาทิตย์ เข้าฉาย 8 พฤศจิกายน

และถูกนำมาทำเป็นละครโทรทัศน์จักรๆวงศ์ๆทาง [[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] อีก 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2537 สร้างโดย บริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดาราวีดีโอ จำกัด กำกับโดย สยม สังวริบุตร และ สมชาย สังข์สวัสดิ์ บทโทรทัศน์โดย รัมภา ภิรมย์ภักดี (ภาวิต) และ ลุลินารถ สุนทรพฤกษ์ และในปี พ.ศ. 2552 สร้างโดย บริษัท สามเศียร จำกัด กำกับโดย คูณฉกาจ วรสิทธิ์ บทโทรทัศน์โดย รัมภา ภิรมย์ภักดี (พิกุลแก้ว) ออกอากาศ [[6 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2552]] ถึง [[28 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2553]]
== นักแสดง ==
== นักแสดง ==



รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:04, 4 มิถุนายน 2563

นักแสดง

ปี พ.ศ. 2508 พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2527 พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2552
รูปแบบ ภาพยนตร์ 16 มม. ภาพยนตร์ทีวี ช่อง 7
ภาพยนตร์ 35 มม.
ละคร ช่อง 7 ภาพยนตร์ 35 มม. การ์ตูน ช่อง 3 ละคร ช่อง 7
ผู้สร้าง เทพกรภาพยนตร์ ดาราฟิล์ม ศิริมงคลโปรดัคชั่น วิษณุภาพยนตร์ สามเศียร กรุ๊ฟโฟร์ บรอดคาซท์ สามเศียร
ผู้กำกับ เนรมิต ไพรัช สังวริบุตร ชิต ไทรทอง วิเชียร วีระโชติ สยม สังวริบุตร
สมชาย สังข์สวัสดิ์
สิทธิชัย พัฒนดำเกิง พี่นัส พี่เปี๊ยก
และพรรคพวก
คูณฉกาจ วรสิทธิ์
เอื้อยกับอ้าย ภาวนา ชนะจิต เยาวเรศ นิศากร ลลนา สุลาวัลย์ เพ็ญยุพา มณีเนตร อัจฉรา ทองเทพ นวพร อินทรวิมล นัยนา ทิพย์ศรี พีชญา วัฒนามนตรี
พระเจ้าพรหมทัต ไชยา สุริยัน พัลลภ พรพิษณุ ปฐมพงษ์ สิงหะ สุริยา ชินพันธุ์ ปริญญา ปุ่นสกุล เกรียง ไกรมาก สุภาพ ไชยวิสุทธิกุล วสุ ประทุมรัตน์วัฒนา
ไพโรจน์ สังวริบุตร
ปานรวัฐ ลิ่มรัตนาอาภรณ์
ยอดชาย เมฆสุวรรณ
รุ้งลาวัลย์ ศรีปฏิมากูร
เด๋อ ดอกสะเดา
เศรษฐีทารก (พ่อ) สมควร กระจ่างศาสตร์ สุวิน สว่างรัตน์ สมควร กระจ่างศาสตร์ สมภพ เบญจาธิกุล ชาตรี พิณโณ สรพงษ์ ชาตรี ธงชัย ชาญชำนิ อัมรินทร์ สิมะโรจน์
ขนิษฐา (แม่เอื้อย) วิไลวรรณ วัฒนพานิช น้ำเงิน บุญหนัก รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง อัมพวัน ศรีวิไล ปัทมา ปานทอง ขวัญภิรมย์ หลิน จุฑามาศ ชวนเจริญ ทราย เจริญปุระ
ขนิษฐี (แม่อ้าย) ปรียา รุ่งเรือง ศิรินทิพย์ ศิริวรรณ อรสา พรหมประทาน พิศมัย วิไลศักดิ์ อรุโณทัย นฤนาท ปาลีรัฐ ศศิธร นัยนา ทิพย์ศรี น้ำทิพย์ เสียมทอง
วนิษฐา วัชโรบล
เยาวเรศ นิสากร
เอื้อย/อ้าย (วัยเด็ก) ด.ญ. สาวิกา ไชยเดช ด.ญ. กิ่งกาญจน์ บุญสุข
พระเจ้าพรหมทัต (วัยเด็ก) ด.ช. นราธิษณ์ น้ำค้าง
ดอน จมูกบาน
ธรมมศักดิ์ สุริยัน
ไกรสีห์ แก้ววิมล
ไพนลิน นิลฉ่ำ
จิราวรรณ อินมา
วิลาวัลย์ โพธิ์เก่ง
วัชระเดช สิทธิ์กูล
เสกสรรค์ รอกประเสริฐ
วรพงษ์ ปิ่นแก้ว
ทัศนีย์ สีดาสมุทร์
ชัยวรงค์ ช่างเกิด
ลัดดาวรรณ มั่นคงดี
ทัศนีย์ สีดาสมุทร์
ชัยวรงค์ ช่างเกิด
กุมารี ด.ญ.ปานรดา คเชนทร์นุกูล
ลบกุมาร ด.ช.ศิรวิชญ์ สังวริบุตร ด.ช.ชญานิน เต่าวิเศษ

อ้างอิง