ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาเทพวงศ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nubbkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
|พระนาม =เจ้าน้อยอุปเสน
|พระนาม =เจ้าน้อยอุปเสน
|พระนามเต็ม = พระยาเทพวงศ์
|พระนามเต็ม = พระยาเทพวงศ์
|ครองราชย์ = [[พ.ศ. 2348]] – [[พ.ศ. 2359]]<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
|ครองราชย์ = รั้งพระยานครแพร่ พ.ศ. 2330 - พ.ศ. 2348</br>[[พ.ศ. 2348]] – [[พ.ศ. 2359]]<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาแสนซ้าย]]
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาศรีสุริยวงศ์ (พระเมืองไชย)]]
|รัชกาลถัดมา = [[พระยาอินทวิไชย]]
|รัชกาลถัดมา = [[พระยาอินทวิไชย]]
|ฐานันดร = พระยาประเทศราช
|ฐานันดร = เจ้าหลวง
|วันประสูติ =
|วันประสูติ =
|วันพิราลัย =
|วันพิราลัย =
|พระอิสริยยศ = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|พระยานครแพร่]]
|พระอิสริยยศ = รั้งตำแหน่งพระยานครแพร่</br>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|พระยานครแพร่]]
|พระราชบิดา =
|พระราชบิดา =
|พระบิดา = [[พระยาแสนซ้าย]]
|พระบิดา = เจ้าฟ้าชายสามสิริเมฆภูมิทร์
|พระราชมารดา =
|พระราชมารดา =
|พระมารดา = แม่เจ้านครเชียงตุง
|พระมารดา = แม่เจ้านครเชียงตุง
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
}}
}}
{{เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่งราชวงศ์เทพวงศ์}}
{{เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่งราชวงศ์เทพวงศ์}}
'''พระยาเทพวงศ์''' หรือ '''เจ้าหลวงเทพวงศ์''' ทรงเป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
'''พระยาเทพวงศ์''' หรือ '''เจ้าหลวงเทพวงศ์''' ทรงเป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 22 (องค์ที่ 1 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ตรงกับรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
==พระประวัติ==
==ราชประวัติ==
'''พระยาเทพวงศ์''' มีพระนามเดิมว่า "เจ้าน้อยอุปเสน" และมีอีกพระนามว่า "เทพวงษ์" ซึ่งมาจากชื่อทางพระ ''จากหนังสือเชื้อสายเจ้าหลวงเมืองแพร่ ๔ สมัย รวบรวมโดยบัวผิว วงศ์พระถาง เจ้าไข่มุกต์ ประชาศรัยสรเดช(วงศ์บุรี) และร.ต.ดวงแก้ว รัตนวงศ์'' ระบุว่าพระยาเทพวงศ์เป็นราชโอรสของเจ้าฟ้าชายสามสิริเมฆภูมินทร์ แห่งนครเชียงตุง ได้รับการช่วยเหลือจาก[[พระเจ้ากาวิละ]]ในการขี้นครองนครแพร่ พระองค์มีตำแหน่งเดิมเป็นพระเมืองไชย หรือแสนซ้าย ทรงรั้งตำแหน่งพระยาแพร่ ระหว่างปีพ.ศ. 2330-2348 และเสด็จขึ้นครองนครเป็นพระยาแพร่ในปีพ.ศ. 2348 ต่อจาก[[พระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)|พระยาศรีสุริยวงศ์ (พระเมืองไชย หรือพระยาแสนซ้าย)]] มีศักดิ์เป็นพ่อตา ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ระบุว่า"พระเมืองใจบุตรพระยาแสนซ้ายเป็นพระยาแพร่"เหตุที่เรียกว่าบุตรเพราะล้านนาสืบความเป็นทายาทโดยฝ่ายหญิงบุตรเขยก็จะเรียกบุตรได้เช่นกัน
พระยาเทพวงศ์ มีพระนามเดิมว่า ''เจ้าน้อยอุปเสน'' หรือ ''เจ้าน้อยเทพวงศ์'' เป็นราชโอรสของพระยาแสนซ้าย
พระยาเทพวงศ์ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหลวงที่พูดจาไพเราะน่าฟัง พูดเก่ง พูดจาสิ่งใดใครๆ ก็เชื่อฟังหมดจนชาวเมืองให้การเคารพนับถือ จึงตั้งสมญานามว่า "เจ้าหลวงลิ้นตอง (ลิ้นทอง)"


== ราชโอรส-ธิดา==
== ราชโอรส-ธิดา==
พระยาเทพวงศ์ มีพระชายา และราชโอรส-ธิดา ดังนี้
พระยาเทพวงศ์ มีราชเทวีา และราชโอรส-ธิดา ดังนี้
* '''[[แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]]''' ราชธิดาใน[[พระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)]] เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 18 มีราชโอรส-ธิดา 3 พระองค์ คือ<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง (ลิ้นทอง)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=670:2011-08-27-16-30-25&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date= 17 กรกฎาคม 2554|accessdate= 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
* '''[[แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]]''' ราชธิดาใน[[พระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)|พระยาศรีสุริยวงศ์ (เมืองไชย)]] เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 21 มีราชโอรส-ธิดา 3 พระองค์ คือ<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง (ลิ้นทอง)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=670:2011-08-27-16-30-25&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date= 17 กรกฎาคม 2554|accessdate= 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>


::*'''เจ้าน้อยอินทวิไชย (อินต๊ะวิไจย) ต่อมาคือ [[พระยาอินทวิไชย]]''' เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 20 (องค์ที่ 2 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ราชเทวีคือแม่เจ้าสุพรรณวดี
::*'''เจ้าน้อยอินทวิไชย (อินต๊ะวิไจย) ต่อมาคือ [[พระยาอินทวิไชย]]''' เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 23 (องค์ที่ 2 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ราชเทวีคือแม่เจ้าสุพรรณวดี
::*[[เจ้าปิ่นแก้ว|แม่เจ้าปิ่นแก้ว]] เสกสมรสกับ เจ้าวังขวา(เฒ่า) มีโอรส-ธิดา 5 คน คือ
::*[[เจ้าปิ่นแก้ว|'''แม่เจ้าปิ่นแก้ว''']] เสกสมรสกับ เจ้าวังขวา(เฒ่า) มีโอรส-ธิดา 5 คน คือ
:::1. แม่เจ้าเขียว สมรสกับ เจ้าพระเมืองชัย ได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าวังขวา(หนุ่ม) สืบต่อจากเจ้าวังขวา(เฒ่า) พ่อตา
:::1. แม่เจ้าเขียว สมรสกับ เจ้าพระเมืองชัย ได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าวังขวา(หนุ่ม) สืบต่อจากเจ้าวังขวา(เฒ่า) พ่อตา
:::2. เจ้าพิมพิสาร ต่อมาคือ [[พระยาพิมพิสารราชา]] เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 21 (องค์ที่ 3 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ราชเทวีคือแม่เจ้าแก้วไหลมา
:::2. เจ้าพิมพิสาร ต่อมาคือ [[พระยาพิมพิสารราชา]] เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 21 (องค์ที่ 3 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ราชเทวีคือแม่เจ้าแก้วไหลมา
บรรทัด 46: บรรทัด 45:
::*'''เจ้าพุทธวงศ์'''
::*'''เจ้าพุทธวงศ์'''
*'''แม่เจ้ากันธิมาเทวี''' ราชธิดาใน[[พระยาคำฟั่น|เจ้าหลวงเศรษฐีคำฟั่น]] เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 กับหม่อมคำแลบ มีราชธิดา 1 พระองค์ คือ
*'''แม่เจ้ากันธิมาเทวี''' ราชธิดาใน[[พระยาคำฟั่น|เจ้าหลวงเศรษฐีคำฟั่น]] เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 กับหม่อมคำแลบ มีราชธิดา 1 พระองค์ คือ
::*'''เจ้าหญิงกัลยา'''<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref>


::*'''แม่เจ้ากัลยา'''<ref>วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. '''เจ้าหลวงลำพูน''' กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552</ref>
เมื่อพระยาเทพวงศ์ถึงแก่พิราลัย ท้าวอินทราชาราชโอรสองค์โต จึงได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระองค์เป็น[[พระยาอินทวิไชย]]

เมื่อพระยาเทพวงศ์ถึงแก่พิราลัย ในปีพ.ศ. 2359 พระไชยราชาราชโอรสองค์โต จึงได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระองค์เป็น[[พระยาอินทวิไชย]]

== ราชกรณียกิจ ==

* ทรงบูรณะวัดหัวข่วง(วัดสำเภา) และวัดศรีชุม(วัดท่านางเหลียว) เมืองแพร่
* ก่อนปีพ.ศ. 2353 มีการขุดเหมืองหลวง เพื่อให้ชาวเมืองได้ใช้น้ำโดยการผันน้ำจากลำน้ำแม่สาย

พระองค์ทรงเป็นเจ้าหลวงที่พูดจาไพเราะน่าฟัง พูดเก่ง พูดจาสิ่งใดใครๆ ก็เชื่อฟังหมดจนชาวเมืองให้การเคารพนับถือ จึงตั้งสมญานามว่า "เจ้าหลวงลิ้นตอง (ลิ้นทอง)" อันเป็นนามที่สื่อถึงความสามารถด้านเจรจากับทุกฝ่ายผลประโยชน์ที่ลงตัวของกลุ่มชนมีผลสืบเนื่องให้เมืองแพร่ธำรงอยู่หนึ่งในห้าหัวเมืองประเทศราชล้านนา

== พระอิสริยยศ ==

* ก่อนพ.ศ. 2330 พระเมืองไชย หรือแสนซ้าย
* พ.ศ. 2330-2348 รั้งตำแหน่งพระยานครแพร่
* พ.ศ. 2348-2359 พระยานครแพร่


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัด 55: บรรทัด 68:
{{สืบตำแหน่ง
{{สืบตำแหน่ง
| รูปภาพ =
| รูปภาพ =
| ก่อนหน้า = [[พระยาแสนซ้าย]] <br><small>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]</small>
| ก่อนหน้า = [[พระยาศรีสุริยวงศ์ (พระเมืองไชย)]] <br><small>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]</small>
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]
| ตำแหน่ง = รั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครแพร่<br>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์เทพวงศ์]]
| ปี = [[พ.ศ. 2348]] - [[พ.ศ. 2359]]
| ปี = พ.ศ. 2330 - พ.ศ. 2348 <br> [[พ.ศ. 2348]] - [[พ.ศ. 2359]]
| ถัดไป = [[พระยาอินทวิไชย]]<br><small>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]</small>
| ถัดไป = [[พระยาอินทวิไชย]]<br><small>[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]]</small>
}}
}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:28, 17 พฤษภาคม 2563

พระยาเทพวงศ์

เจ้าน้อยอุปเสน
รั้งตำแหน่งพระยานครแพร่
พระยานครแพร่
ครองราชย์รั้งพระยานครแพร่ พ.ศ. 2330 - พ.ศ. 2348
พ.ศ. 2348พ.ศ. 2359[1]
รัชกาลก่อนหน้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (พระเมืองไชย)
รัชกาลถัดไปพระยาอินทวิไชย
พระชายาแม่เจ้าสุชาดาราชเทวี
พระนามเต็ม
พระยาเทพวงศ์
พระบุตรพระยาอินทวิไชย
เจ้าปิ่นแก้ว
เจ้าพุทธวงศ์
เจ้าหญิงกัลยา
ราชวงศ์ราชวงศ์เทพวงศ์
พระบิดาเจ้าฟ้าชายสามสิริเมฆภูมิทร์
พระมารดาแม่เจ้านครเชียงตุง
เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่ง
ราชวงศ์แสนซ้าย
*พระยาแสนซ้าย
*พระยาเทพวงศ์
*พระยาอินทวิไชย
พระยาพิมพิสารราชา
เจ้าพิริยเทพวงษ์

พระยาเทพวงศ์ หรือ เจ้าหลวงเทพวงศ์ ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22 (องค์ที่ 1 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

ราชประวัติ

พระยาเทพวงศ์ มีพระนามเดิมว่า "เจ้าน้อยอุปเสน" และมีอีกพระนามว่า "เทพวงษ์" ซึ่งมาจากชื่อทางพระ จากหนังสือเชื้อสายเจ้าหลวงเมืองแพร่ ๔ สมัย รวบรวมโดยบัวผิว วงศ์พระถาง เจ้าไข่มุกต์ ประชาศรัยสรเดช(วงศ์บุรี) และร.ต.ดวงแก้ว รัตนวงศ์ ระบุว่าพระยาเทพวงศ์เป็นราชโอรสของเจ้าฟ้าชายสามสิริเมฆภูมินทร์ แห่งนครเชียงตุง ได้รับการช่วยเหลือจากพระเจ้ากาวิละในการขี้นครองนครแพร่ พระองค์มีตำแหน่งเดิมเป็นพระเมืองไชย หรือแสนซ้าย ทรงรั้งตำแหน่งพระยาแพร่ ระหว่างปีพ.ศ. 2330-2348 และเสด็จขึ้นครองนครเป็นพระยาแพร่ในปีพ.ศ. 2348 ต่อจากพระยาศรีสุริยวงศ์ (พระเมืองไชย หรือพระยาแสนซ้าย) มีศักดิ์เป็นพ่อตา ดังปรากฏในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 4 ระบุว่า"พระเมืองใจบุตรพระยาแสนซ้ายเป็นพระยาแพร่"เหตุที่เรียกว่าบุตรเพราะล้านนาสืบความเป็นทายาทโดยฝ่ายหญิงบุตรเขยก็จะเรียกบุตรได้เช่นกัน

ราชโอรส-ธิดา

พระยาเทพวงศ์ มีราชเทวีา และราชโอรส-ธิดา ดังนี้

1. แม่เจ้าเขียว สมรสกับ เจ้าพระเมืองชัย ได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าวังขวา(หนุ่ม) สืบต่อจากเจ้าวังขวา(เฒ่า) พ่อตา
2. เจ้าพิมพิสาร ต่อมาคือ พระยาพิมพิสารราชา เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 21 (องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์เทพวงศ์) ราชเทวีคือแม่เจ้าแก้วไหลมา
3. แม่เจ้าเรือนแก้ว(เฮือนแก้ว) สมรสกับเจ้าบุรีรัตน์เฒ่า (เจ้าหนานปัญญา มหายศปัญญา) เจ้าบุรีรัตน์นครแพร่
4. แม่เจ้าแก้ววรรณา สมรสกับเจ้าวังซ้าย(เฒ่า) เจ้าวังซ้ายนครแพร่
5. เจ้าราชวงศ์(พระนามเดิมไม่ปรากฏ) เจ้าราชวงศ์นครแพร่ สมรสกับเจ้าบัวคำ และเจ้าบัวจีน (หลักฐานจากที่ท่านสร้างพระคัมภีร์อุทิศแด่ พ่อเจ้าวังขวา บิดาท่าน) มีโอรส 1 คน
  • เจ้าพุทธวงศ์
  • แม่เจ้ากันธิมาเทวี ราชธิดาในเจ้าหลวงเศรษฐีคำฟั่น เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 1 และเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 กับหม่อมคำแลบ มีราชธิดา 1 พระองค์ คือ
  • แม่เจ้ากัลยา[3]

เมื่อพระยาเทพวงศ์ถึงแก่พิราลัย ในปีพ.ศ. 2359 พระไชยราชาราชโอรสองค์โต จึงได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจากพระองค์เป็นพระยาอินทวิไชย

ราชกรณียกิจ

  • ทรงบูรณะวัดหัวข่วง(วัดสำเภา) และวัดศรีชุม(วัดท่านางเหลียว) เมืองแพร่
  • ก่อนปีพ.ศ. 2353 มีการขุดเหมืองหลวง เพื่อให้ชาวเมืองได้ใช้น้ำโดยการผันน้ำจากลำน้ำแม่สาย

พระองค์ทรงเป็นเจ้าหลวงที่พูดจาไพเราะน่าฟัง พูดเก่ง พูดจาสิ่งใดใครๆ ก็เชื่อฟังหมดจนชาวเมืองให้การเคารพนับถือ จึงตั้งสมญานามว่า "เจ้าหลวงลิ้นตอง (ลิ้นทอง)" อันเป็นนามที่สื่อถึงความสามารถด้านเจรจากับทุกฝ่ายผลประโยชน์ที่ลงตัวของกลุ่มชนมีผลสืบเนื่องให้เมืองแพร่ธำรงอยู่หนึ่งในห้าหัวเมืองประเทศราชล้านนา

พระอิสริยยศ

  • ก่อนพ.ศ. 2330 พระเมืองไชย หรือแสนซ้าย
  • พ.ศ. 2330-2348 รั้งตำแหน่งพระยานครแพร่
  • พ.ศ. 2348-2359 พระยานครแพร่

อ้างอิง

  1. วรชาติ มีชูบท. เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2556. 428 หน้า. หน้า 20. ISBN 978-616-220-054-0
  2. "เจ้าหลวงเทพวงศ์ลิ้นตอง (ลิ้นทอง)". วังฟ่อนดอตคอม. 17 กรกฎาคม 2554. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. เจ้าหลวงลำพูน กรุงเทพฯ : อัมรันทร์พริ้นติ้ง. 2552