ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาทบริจาริกา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า พระสนม ไปยัง บาทบริจาริกา: ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตฯ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
# '''เจ้าจอมอยู่งาน''' คือนางอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำเป็นเครื่องยศ ถ้ามีพระราชโอรสพระราชธิดาเรียกว่า'''เจ้าจอมมารดา'''<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 335</ref>
# '''เจ้าจอมอยู่งาน''' คือนางอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำเป็นเครื่องยศ ถ้ามีพระราชโอรสพระราชธิดาเรียกว่า'''เจ้าจอมมารดา'''<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 335</ref>
# '''นักสนม''' คือบาทบริจาริกาซึ่งไม่ใช่เจ้าจอมหรือเจ้าจอมมารดา<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 613</ref> ได้ถวายการรับใช้ในพระราชมนเทียร จึงเรียกอีกอย่างว่า'''นางอยู่งาน''' ได้รับพระราชทานหีบหมากเงินกะไหล่ทองเป็นเครื่องยศ
# '''นักสนม''' คือบาทบริจาริกาซึ่งไม่ใช่เจ้าจอมหรือเจ้าจอมมารดา<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 613</ref> ได้ถวายการรับใช้ในพระราชมนเทียร จึงเรียกอีกอย่างว่า'''นางอยู่งาน''' ได้รับพระราชทานหีบหมากเงินกะไหล่ทองเป็นเครื่องยศ

== ประเทศฝรั่งเศส ==
* [[มาดาม เดอ ปงปาดูร์]] พระสนมเอกใน[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส]]

== สหราชอาณาจักร ==
บาทบริจาริกาที่สำคัญในประวัติศาสตร์อังกฤษ เช่น
* [[แอนน์ บุลิน]] บาทบริจาริกาใน[[พระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ]]
* [[บาร์บารา พาล์มเมอร์]] บาทบริจาริกาใน[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]
* [[หลุยส์ เดอ เครูอาล]] บาทบริจาริกาใน[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]
* [[วอลลิส ซิมป์สัน]] บาทบริจาริกาใน[[สมเด็จพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8]]
* [[คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล|คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์]] บาทบริจาริกา (ปัจจุบันเป็นพระชายา) ใน[[เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:09, 9 ตุลาคม 2561

บาทบริจาริกา หมายถึง ภรรยาที่เป็นสามัญชนของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช และเจ้าฟ้า[1]

ประเทศไทย

ราชสำนักไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์นอกจากมีพระภรรยาเจ้าแล้ว ยังมีบาทบริจาริกาซึ่งแบ่งได้เป็น 4 ชั้นย่อย[2] ได้แก่

  1. พระสนม คือเจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดีเป็นเครื่องยศ[3] มี 2 ชั้น คือ
    1. พระสนมเอก ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี พานทอง และเครื่องทองคำอย่างใหญ่ เป็นเครื่องยศ[3]
    2. พระสนมโท ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี พานทอง และเครื่องทองคำอย่างน้อย เป็นเครื่องยศ[3]
  2. เจ้าจอมอยู่งาน คือนางอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำเป็นเครื่องยศ ถ้ามีพระราชโอรสพระราชธิดาเรียกว่าเจ้าจอมมารดา[4]
  3. นักสนม คือบาทบริจาริกาซึ่งไม่ใช่เจ้าจอมหรือเจ้าจอมมารดา[5] ได้ถวายการรับใช้ในพระราชมนเทียร จึงเรียกอีกอย่างว่านางอยู่งาน ได้รับพระราชทานหีบหมากเงินกะไหล่ทองเป็นเครื่องยศ

ประเทศฝรั่งเศส

สหราชอาณาจักร

บาทบริจาริกาที่สำคัญในประวัติศาสตร์อังกฤษ เช่น

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 668
  2. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 3
  3. 3.0 3.1 3.2 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 812
  4. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 335
  5. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 613
บรรณานุกรม
  • จิรวัฒน์ อุตตมะกุล. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548. 398 หน้า. ISBN 974-322-964-1 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum
  • ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-80-4