ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐในอารักขาโบฮีเมียและมอเรเวีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
| flag_s1 = Flag of Czechoslovakia.svg
| flag_s1 = Flag of Czechoslovakia.svg
|
|
| national_anthem = ''[[Kde domov můj?|{{lang|cs|Kde domov můj?|nocat=y}}{{\}}{{lang|de|Wo ist meine Heimat?|nocat=y}}]]''<br/>{{small|"Where is my home?"}}<br/><center>[[ไฟล์:Czech anthem.ogg]]</center>
| national_anthem = ''[[คเด โดโมฟ มูย|{{lang|cs|Kde domov můj?|nocat=y}}{{\}}{{lang|de|Wo ist meine Heimat?|nocat=y}}]]''<br/>{{small|"Where is my home?"}}<br/><center>[[ไฟล์:Czech anthem.ogg]]</center>
| capital = ปราก
| capital = ปราก
| common_languages = [[ภาษาเช็ก|เช็ก]], [[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]
| common_languages = [[ภาษาเช็ก|เช็ก]], [[ภาษาเยอรมัน|เยอรมัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:04, 3 มีนาคม 2561

รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย

Protektorat Böhmen und Mähren
Protektorát Čechy a Morava
1939–1945
The Protectorate of Bohemia and Moravia in 1942
The Protectorate of Bohemia and Moravia in 1942
สถานะรัฐอารักขาของนาซีเยอรมนี[1]
เมืองหลวงปราก
ภาษาทั่วไปเช็ก, เยอรมัน
ผู้ว่าการรัฐไรช์ 
• 1939–1943
คอนชตันทิน ฟอน นอยรัท
• 1941–1942
ไรน์ฮาร์ด ฮายดริช (acting)
• 1942–1943
เคิรท์ ดาลูเกอ (acting)
• 1943–1945
วิลเฮล์ม ฟริค
State President 
• 1939–1945
Emil Hácha
Prime Minister 
• 1939
Rudolf Beran (acting)
• 1939–1941
Alois Eliáš
• 1942–1945
Jaroslav Krejčí
• 1945
Richard Bienert
ยุคประวัติศาสตร์World War II
15 มีนาคม, ประกาศ 16 มีนาคม 1939
9 พฤษภาคม 1945
พื้นที่
193949,363 ตารางกิโลเมตร (19,059 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1939
7380000
สกุลเงินProtectorate Koruna
ก่อนหน้า
ถัดไป
สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 2
สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 3
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ เช็กเกีย

รัฐอารักขาแห่งโบฮีเมียและมอเรเวีย (เยอรมัน: Protektorat Böhmen und Mähren; เช็ก: Protektorát Čechy a Morava) เป็นรัฐอารักขาของนาซีเยอรมนีได้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1939 ภายหลังจากเยอรมันยึดครองเชโกสโลวาเกีย เมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1939 ในช่วงก่อนหน้านี้, ภายหลังข้อตกลงมิวนิก เมื่อเดือนกันยายน ค.ศ. 1938, นาซีเยอรมนีได้รวมซูเดเทินลันด์ ดินแดนเช็กมาเป็นไรชส์เกา (ตุลาคม ค.ศ. 1938)

ประชากรของรัฐอารักส่วนใหญ่เป็นชาวเช็ก ในขณะที่ซูเดเทินลันด์นั้นมีประชากรชาวเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ ภายหลังจากการก่อตั้งรัฐอิสระของสาธารณรัฐสโลวักที่ 1 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1939 และเยอรมันได้เข้ายึดครองรัฐตกค้างของเช็กในวันถัดมา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้สถาปนาก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 มีนาคม ค.ศ. 1939 โดยการป่าวประกาศคำแถลงการณ์จากปราสาทปราก

รัฐบาลเยอรมันได้มีเหตุผลในการเข้าแทรกแซงโดยกล่าวอ้างว่าเชโกสโลวาเกียกำลังถดถอยไปในสภาวะที่ยุ่งเหยิงสับสนวุ่นวายในขณะที่ประเทศกำลังประสบกับความแตกแยกกันในทางด้านเชื้อชาติ และกองทัพเยอรมันได้พยายามที่จะฟื้นฟูความสงบเรียบร้อยในภูมิภาคนั้น เชโกสโลวาเกียในช่วงสมัยเวลานั้นภายใต้การนำของประธานาธิบดี Emil Hácha ได้ดำเนินการตามนโยบายต่างประเทศในการสนับสนุนเยอรมัน; อย่างไรก็ตาม, เมื่อได้เข้าพบกับฟือเรอร์แห่งเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (15 มีนาคม ค.ศ. 1939), Hácha ได้ยินยอมต่อข้อเรียกร้องของเยอรมนีและออกประกาศคำแถลงการณ์ที่ได้ระบุไว้ในแง่ของเหตุการณ์ที่เขาได้ยอมรับว่าเยอรมนีจะเป็นผู้ตัดสินชะตากรรมของชาวเช็ก ฮิตเลอร์ได้ยอมรับการประกาศคำแถลงการณ์ของ Hácha และได้ประกาศว่าเยอรมนีจะมอบให้แก่ประชาชนชาวเช็กคือรัฐอารักขาที่เป็นอิสระที่ปกครองโดยชนเชื้อชาติเช็ก Hácha ก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานาธิบดีแห่งรัฐอารักขาในวันเดียวกัน

รัฐอารักขาแห่งนี้เป็นดินแดนที่ปกครองตนเองภายใต้การบริหารของนาซีซึ่งรัฐบาลเยอรมนีได้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของไรช์มหาเยอรมัน การดำรงของรัฐได้สิ้นสุดลงด้วยการยอมจำนนของเยอรมันต่อสัมพันธมิตรในปี ค.ศ. 1945

อ้างอิง

  1. Lemkin, Raphaël (1944). Axis Rule in Occupied Europe. Harold Bold Verlag. p. 343. ISBN 9781584779018.