ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมู่โลหิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


==ระบบหมู่เลือด==
==ระบบหมู่เลือด==

การจำแนกหมู่เลือดที่สมบูรณ์จะประกอบด้วยการระบุสารผิวเซลล์ [[เม็ดเลือดแดง]] 30 ชนิด ดังนั้นหมู่เลือดของคนคนหนึ่งจะเป็นส่วนประกอบของชนิดของแอนติเจนย่อยต่างๆ ประกอบกัน สารผิวเซลล์ 30 ชนิดนี้ มีการพบแอนติเจนที่แตกต่างกันแล้วกว่า 600 แบบ แต่บางแบบเป็นชนิดหายาก อาจพบเฉพาะในบางชนเผ่าหรือเชื้อชาติ
การจำแนกหมู่เลือดที่สมบูรณ์จะประกอบด้วยการระบุสารผิวเซลล์ [[เม็ดเลือดแดง]] 30 ชนิด ดังนั้นหมู่เลือดของคนคนหนึ่งจะเป็นส่วนประกอบของชนิดของแอนติเจนย่อยต่างๆ ประกอบกัน สารผิวเซลล์ 30 ชนิดนี้ มีการพบแอนติเจนที่แตกต่างกันแล้วกว่า 600 แบบ แต่บางแบบเป็นชนิดหายาก อาจพบเฉพาะในบางชนเผ่าหรือเชื้อชาติ


=== ระบบเอบีโอ ===
=== ระบบเอบีโอ ===

[[ไฟล์:ABO blood group diagram.svg|right|thumb|350px|''ระบบหมู่โลหิตเอบีโอ'': แผนภาพแสดงสายคาร์โบไฮเดรตซึ่งกำหนดหมู่โลหิตเอบีโอ]]
[[ไฟล์:ABO blood group diagram.svg|right|thumb|350px|''ระบบหมู่โลหิตเอบีโอ'': แผนภาพแสดงสายคาร์โบไฮเดรตซึ่งกำหนดหมู่โลหิตเอบีโอ]]
{{บทความหลัก|ระบบหมู่โลหิตเอบีโอ}}
{{บทความหลัก|ระบบหมู่โลหิตเอบีโอ}}

ระบบเอบีโอเป็นระบบหมู่โลหิตที่สำคัญที่สุดในการถ่ายเลือดมนุษย์ แอนตี-เอและแอนตี-บีแอนติบอดีปกติเป็นแอนติบอดีอิมมูโนโกลบูลินเอ็ม (IgM) แอนติบอดี IgM ผลิตขึ้นในปีแรกของชีวิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม เช่น อาหาร แบคทีเรีย และไวรัส
ระบบเอบีโอเป็นระบบหมู่โลหิตที่สำคัญที่สุดในการถ่ายเลือดมนุษย์ แอนตี-เอและแอนตี-บีแอนติบอดีปกติเป็นแอนติบอดีอิมมูโนโกลบูลินเอ็ม (IgM) แอนติบอดี IgM ผลิตขึ้นในปีแรกของชีวิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม เช่น อาหาร แบคทีเรีย และไวรัส


บรรทัด 29: บรรทัด 26:


=== ระบบอาร์เอช ===
=== ระบบอาร์เอช ===

{{บทความหลัก|ระบบหมู่โลหิตอาร์เอช}}
{{บทความหลัก|ระบบหมู่โลหิตอาร์เอช}}
ระบบอาร์เอช (Rh; "รีซัส") เป็นระบบหมู่โลหิตที่มีความสำคัญมากเป็นอันดับ 2 ในการถ่ายเลือดมนุษย์ โดยปัจจุบันมี 50 แอนติเจน แอนติเจนอาร์เอชที่สำคัญที่สุดคือ แอนติเจน D เพราะมีแนวโน้มกระตุ้นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันมากที่สุดในบรรดา 5 แอนติเจนหลักของระบบอาร์เอช โดยทั่วไปผู้ที่ไม่มีแอนติเจน D (D เนกาทีฟหรืออาร์เอชลบ) จะไม่ผลิตแอนตี-D แอนติบอดีชนิด IgG หรือ IgM เพราะแอนตี-D แอนติบอดีปกติไม่ผลิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม ทว่า ผู้ที่มีหมู่โลหิต D เนกาทีฟสามารถผลิตแอนตี-D แอนติบอดีชนิด IgG ได้หลังการสัมผัส ซึ่งอาจเป็นการถ่ายเลือดระหว่างทารกในครรภ์กับมารดาหรืออาจเป็นการถ่ายเลือดกับเม็ดเลือดแดง D โพสิทีฟ
ระบบอาร์เอช (Rh; "รีซัส") เป็นระบบหมู่โลหิตที่มีความสำคัญมากเป็นอันดับ 2 ในการถ่ายเลือดมนุษย์ โดยปัจจุบันมี 50 แอนติเจน แอนติเจนอาร์เอชที่สำคัญที่สุด คือ แอนติเจน D เพราะมีแนวโน้มกระตุ้นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันมากที่สุดในบรรดา 5 แอนติเจนหลักของระบบอาร์เอช โดยทั่วไปผู้ที่ไม่มีแอนติเจน D (D เนกาทีฟ หรืออาร์เอชลบ) จะไม่ผลิตแอนตี-D แอนติบอดีชนิด IgG หรือ IgM เพราะแอนตี-D แอนติบอดีปกติไม่ผลิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม ทว่า ผู้ที่มีหมู่โลหิต D เนกาทีฟสามารถผลิตแอนตี-D แอนติบอดีชนิด IgG ได้หลังการสัมผัส ซึ่งอาจเป็นการถ่ายเลือดระหว่างทารกในครรภ์กับมารดา หรืออาจเป็นการถ่ายเลือดกับเม็ดเลือดแดง D โพสิทีฟ

<ref name="Talaro, Kathleen P. 2005 510–1">{{cite book|author=Talaro, Kathleen P.|title=Foundations in microbiology|publisher=McGraw-Hill|location=New York|year=2005|pages=510–1|isbn=0-07-111203-0 |edition=5th}}</ref> สามารถเกิดโรคอาร์เอชได้ในผู้ป่วยเหล่านี้<ref>{{cite journal|author=Moise KJ|title=Management of rhesus alloimmunization in pregnancy|journal=Obstetrics and Gynecology|volume=112|issue=1|pages=164–76|date=July 2008|pmid=18591322|doi=10.1097/AOG.0b013e31817d453c}}</ref>
<ref name="Talaro, Kathleen P. 2005 510–1">{{cite book|author=Talaro, Kathleen P.|title=Foundations in microbiology|publisher=McGraw-Hill|location=New York|year=2005|pages=510–1|isbn=0-07-111203-0 |edition=5th}}</ref> สามารถเกิดโรคอาร์เอชได้ในผู้ป่วยเหล่านี้<ref>{{cite journal|author=Moise KJ|title=Management of rhesus alloimmunization in pregnancy|journal=Obstetrics and Gynecology|volume=112|issue=1|pages=164–76|date=July 2008|pmid=18591322|doi=10.1097/AOG.0b013e31817d453c}}</ref>
หมู่โลหิตอาร์เอชลบพบเป็นสัดส่วนน้อยกว่าในชาวเอเชีย (0.3%) เมื่อเทียบกับคนขาว (15%)<ref name="Rh group and its origin">{{cite web|url=http://hospital.kingnet.com.tw/activity/blood/html/a.html|title=Rh血型的由來|publisher=Hospital.kingnet.com.tw|accessdate=2010-08-01}}</ref>
หมู่โลหิตอาร์เอชลบพบเป็นสัดส่วนน้อยกว่าในชาวเอเชีย (0.3%) เมื่อเทียบกับคนขาว (15%)<ref name="Rh group and its origin">{{cite web|url=http://hospital.kingnet.com.tw/activity/blood/html/a.html|title=Rh血型的由來|publisher=Hospital.kingnet.com.tw|accessdate=2010-08-01}}</ref>
บรรทัด 38: บรรทัด 33:


=== หมู่โลหิตอื่น ===
=== หมู่โลหิตอื่น ===

นอกจากระบบเอบีโอและอาร์เอช ยังมีการระบุระบบหมู่โลหิตอีก 30 หมู่
นอกจากระบบเอบีโอและอาร์เอช ยังมีการระบุระบบหมู่โลหิตอีก 30 หมู่

<ref>{{cite web
<ref>{{cite web
|url= http://www.uvm.edu/~uvmpr/?Page=news&storyID=13259
|url= http://www.uvm.edu/~uvmpr/?Page=news&storyID=13259
บรรทัด 50: บรรทัด 43:


== ความสำคัญทางคลินิก ==
== ความสำคัญทางคลินิก ==

=== ความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง ===
=== ความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง ===
[[ไฟล์:Blood Compatibility.svg|right|230px|thumb|'''แผนผังความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง'''<br /> นอกเหนือจากการบริจาคให้หมู่โลหิตเดียวกันแล้ว หมู่โอสามารถบริจาคให้หมู่เอ บีและเอบี และผู้บริจาคเลือดหมู่เอและบีสามารถให้หมู่เอบีได้]]

[[ไฟล์:Blood Compatibility.svg|right|230px|thumb|'''แผนผังความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง''' <br /> นอกเหนือจากการบริจาคให้หมู่โลหิตเดียวกันแล้ว หมู่โอสามารถบริจาคให้หมู่เอ บีและเอบี และผู้บริจาคเลือดหมู่เอและบีสามารถให้หมู่เอบีได้]]

{| class="wikitable" style="text-align:center;"
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
|+ ตารางความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง<!--
|+ ตารางความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง<!--
บรรทัด 153: บรรทัด 143:
|}
|}
<small>
<small>
หมายเหตุตาราง: 1. โดยสมมติให้ไม่มีแอนติบอดีนอกแบบซึ่งจะทำให้เลือดผู้ให้และผู้รับเข้ากันไม่ได้ ซึ่งเป็นปกติของเลือดที่ถูกเลือกโดยการทดสอบความเข้ากันได้ของเลือดผู้ให้และผู้รับ (cross matching)

หมายเหตุตาราง: 1 โดยสมมติให้ไม่มีแอนติบอดีนอกแบบ ซึ่งจะทำให้เลือดผู้ให้และผู้รับเข้ากันไม่ได้ ซึ่งเป็นปกติของเลือดที่ถูกเลือกโดยการทดสอบความเข้ากันได้ของเลือดผู้ให้และผู้รับ (Cross Matching)
</small>
</small>


=== ความเข้ากันได้ของพลาสมา ===
=== ความเข้ากันได้ของพลาสมา ===

[[ไฟล์:Plasma donation compatibility path.svg|right|190px|thumb|'''แผนผังความเข้ากันได้ของพลาสมา'''<br />นอกเหนือจากการบริจาคให้หมู่โลหิตเดียวกันแล้ว พลาสมาจากหมู่เอบีสามารถให้หมู่เอและบี และพลาสมาจากหมู่เอ บีและเอบีสามารถให้หมู่โอ(O)]]
[[ไฟล์:Plasma donation compatibility path.svg|right|190px|thumb|'''แผนผังความเข้ากันได้ของพลาสมา'''<br />นอกเหนือจากการบริจาคให้หมู่โลหิตเดียวกันแล้ว พลาสมาจากหมู่เอบีสามารถให้หมู่เอและบี และพลาสมาจากหมู่เอ บีและเอบีสามารถให้หมู่โอ(O)]]
{| class="wikitable" style="text-align:center;"
{| class="wikitable" style="text-align:center;"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:47, 12 กันยายน 2560

หมู่โลหิต แอนติเจนของหมู่เลือด ABO แสดงบนเม็ดเลือดแดง

หมู่โลหิต (Blood Type หรือ Blood Group) คือ การแยกแยะ เลือด เป็นหมวดหมู่ ปัจจุบันมีระบบหมู่โลหิต 32 ระบบ ระบบหมู่โลหิตที่สำคัญ ระบบเอบีโอ (ABO System) และ ระบบอาร์เอช (Rh System) โดยจำแนกตาม แอนติเจน ที่อยู่บน เม็ดเลือดแดง

ระบบหมู่เลือด

การจำแนกหมู่เลือดที่สมบูรณ์จะประกอบด้วยการระบุสารผิวเซลล์ เม็ดเลือดแดง 30 ชนิด ดังนั้นหมู่เลือดของคนคนหนึ่งจะเป็นส่วนประกอบของชนิดของแอนติเจนย่อยต่างๆ ประกอบกัน สารผิวเซลล์ 30 ชนิดนี้ มีการพบแอนติเจนที่แตกต่างกันแล้วกว่า 600 แบบ แต่บางแบบเป็นชนิดหายาก อาจพบเฉพาะในบางชนเผ่าหรือเชื้อชาติ

ระบบเอบีโอ

ระบบหมู่โลหิตเอบีโอ: แผนภาพแสดงสายคาร์โบไฮเดรตซึ่งกำหนดหมู่โลหิตเอบีโอ

ระบบเอบีโอเป็นระบบหมู่โลหิตที่สำคัญที่สุดในการถ่ายเลือดมนุษย์ แอนตี-เอและแอนตี-บีแอนติบอดีปกติเป็นแอนติบอดีอิมมูโนโกลบูลินเอ็ม (IgM) แอนติบอดี IgM ผลิตขึ้นในปีแรกของชีวิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม เช่น อาหาร แบคทีเรีย และไวรัส

ฟีโนไทป์ จีโนไทป์
A AA หรือ AO
B BB หรือ BO
AB AB
O OO

ระบบอาร์เอช

ระบบอาร์เอช (Rh; "รีซัส") เป็นระบบหมู่โลหิตที่มีความสำคัญมากเป็นอันดับ 2 ในการถ่ายเลือดมนุษย์ โดยปัจจุบันมี 50 แอนติเจน แอนติเจนอาร์เอชที่สำคัญที่สุด คือ แอนติเจน D เพราะมีแนวโน้มกระตุ้นการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันมากที่สุดในบรรดา 5 แอนติเจนหลักของระบบอาร์เอช โดยทั่วไปผู้ที่ไม่มีแอนติเจน D (D เนกาทีฟ หรืออาร์เอชลบ) จะไม่ผลิตแอนตี-D แอนติบอดีชนิด IgG หรือ IgM เพราะแอนตี-D แอนติบอดีปกติไม่ผลิตโดยการสัมผัสกับสารในสิ่งแวดล้อม ทว่า ผู้ที่มีหมู่โลหิต D เนกาทีฟสามารถผลิตแอนตี-D แอนติบอดีชนิด IgG ได้หลังการสัมผัส ซึ่งอาจเป็นการถ่ายเลือดระหว่างทารกในครรภ์กับมารดา หรืออาจเป็นการถ่ายเลือดกับเม็ดเลือดแดง D โพสิทีฟ [1] สามารถเกิดโรคอาร์เอชได้ในผู้ป่วยเหล่านี้[2] หมู่โลหิตอาร์เอชลบพบเป็นสัดส่วนน้อยกว่าในชาวเอเชีย (0.3%) เมื่อเทียบกับคนขาว (15%)[3] การมีหรือไม่มีแอนติเจนอาร์เอชแสดงด้วยเครื่องหมาย + หรือ − ตัวอย่างเช่น หมู่ A− คือ ไม่มีแอนติเจนอาร์เอชทุกชนิด

หมู่โลหิตอื่น

นอกจากระบบเอบีโอและอาร์เอช ยังมีการระบุระบบหมู่โลหิตอีก 30 หมู่ [4]

ความสำคัญทางคลินิก

ความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง

แผนผังความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง
นอกเหนือจากการบริจาคให้หมู่โลหิตเดียวกันแล้ว หมู่โอสามารถบริจาคให้หมู่เอ บีและเอบี และผู้บริจาคเลือดหมู่เอและบีสามารถให้หมู่เอบีได้
ตารางความเข้ากันได้ของเม็ดเลือดแดง[5][6]
ผู้ให้[1] ผู้รับ[1]
O− O+ A− A+ B− B+ AB− AB+
O− Y N N N N N N N
O+ Y Y N N N N N N
A− Y N Y N N N N N
A+ Y Y Y Y N N N N
B− Y N N N Y N N N
B+ Y Y N N Y Y N N
AB− Y N Y N Y N Y N
AB+ Y Y Y Y Y Y Y Y

หมายเหตุตาราง: 1. โดยสมมติให้ไม่มีแอนติบอดีนอกแบบซึ่งจะทำให้เลือดผู้ให้และผู้รับเข้ากันไม่ได้ ซึ่งเป็นปกติของเลือดที่ถูกเลือกโดยการทดสอบความเข้ากันได้ของเลือดผู้ให้และผู้รับ (cross matching)

ความเข้ากันได้ของพลาสมา

แผนผังความเข้ากันได้ของพลาสมา
นอกเหนือจากการบริจาคให้หมู่โลหิตเดียวกันแล้ว พลาสมาจากหมู่เอบีสามารถให้หมู่เอและบี และพลาสมาจากหมู่เอ บีและเอบีสามารถให้หมู่โอ(O)
ตารางความเข้ากันได้ของพลาสมา[6]
ผู้ให้ ผู้รับ[1]
O A B AB
O Y Y Y Y
A N Y N Y
B N N Y Y
AB N N N Y

หมายเหตุตาราง: 1. โดยสมมติว่าไม่มีแอนติบอดีนอกแบบที่แรงในพลาสมาผู้ให้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Talaro, Kathleen P. (2005). Foundations in microbiology (5th ed.). New York: McGraw-Hill. pp. 510–1. ISBN 0-07-111203-0.
  2. Moise KJ (July 2008). "Management of rhesus alloimmunization in pregnancy". Obstetrics and Gynecology. 112 (1): 164–76. doi:10.1097/AOG.0b013e31817d453c. PMID 18591322.
  3. "Rh血型的由來". Hospital.kingnet.com.tw. สืบค้นเมื่อ 2010-08-01.
  4. Joshua E. Brown (22 February 2012). "Blood Mystery Solved". University Of Vermont. สืบค้นเมื่อ 11 June 2012.
  5. "RBC compatibility table". American National Red Cross. December 2006. สืบค้นเมื่อ 2008-07-15.
  6. 6.0 6.1 Blood types and compatibility bloodbook.com

แหล่งข้อมูลอื่น

  • BGMUT Blood Group Antigen Gene Mutation Database at NCBI, NIH has details of genes and proteins, and variations thereof, that are responsible for blood types