ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| website = http://www.mepasie.org/
| website = http://www.mepasie.org/
}}
}}
'''คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส'''<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส">[http://haab.catholic.or.th/MissionMEP/historymep.html ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส], หอจดหมายเกตุ [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]], เรียกข้อมูลวันที่ 20 ก.ย. 2555</ref> ({{lang-fr|Missions Étrangères de Paris; M.E.P}}) เป็น[[คณะชีวิตแพร่ธรรม]]ของ[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] (ไม่ใช่[[คณะนักบวชคาทอลิก]]) สมาชิกประกอบด้วย[[บาทหลวง]]ประจำ[[มุขมณฑล]]และ[[ฆราวาส]]ที่อุทิศตนทำงานเป็น[[มิชชันนารี]]ในต่างประเทศ<ref name="Asia">[http://books.google.com/books?id=PjVKjJ-WgOYC&pg=RA1-PA412&dq=%22Fran%C3%A7ois+Pallu%22&sig=ACfU3U0xK-s9ft_182X46hn-jYBrN9dz_w#PPA231,M1 ''Asia in the Making of Europe'', p.231]</ref>
'''คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส'''<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส">{{cite web|title=ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส|url=http://haab.catholic.or.th/MissionMEP/historymep.html|publisher=หอจดหมายเกตุ [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]]|accessdate=20 กันยายน 2555}}</ref> ({{lang-fr|Missions Étrangères de Paris; M.E.P}}) เป็น[[คณะชีวิตแพร่ธรรม]]ของ[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] (ไม่ใช่[[คณะนักบวชคาทอลิก]]) สมาชิกประกอบด้วย[[บาทหลวง]]ประจำ[[มุขมณฑล]]และ[[ฆราวาส]]ที่อุทิศตนทำงานเป็น[[มิชชันนารี]]ในต่างประเทศ<ref name="Asia">[http://books.google.com/books?id=PjVKjJ-WgOYC&pg=RA1-PA412&dq=%22Fran%C3%A7ois+Pallu%22&sig=ACfU3U0xK-s9ft_182X46hn-jYBrN9dz_w#PPA231,M1 ''Asia in the Making of Europe'', p.231]</ref>


คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว ค.ศ. 1658-63 ในปี ค.ศ. 1659 [[สมณะกระทรวงเผยแพร่ความเชื่อ]]ได้มีคำสั่งตั้งคณะอย่างเป็นทางการ และให้อภิสิทธิ์ว่าถ้าคณะนี้ไปเผยแผ่ศาสนาในดินแดน[[อาณานิคม]]ของ[[ประเทศสเปน]]และ[[โปรตุเกส]]ก็ไม่ต้องขึ้นกับประเทศเจ้าอาณานิคม (แต่ขึ้นกับ[[สันตะสำนัก]]อย่างเดียว) นับตั้งแต่ก่อตั้งมาภายในเวลา 350 ปี คณะก็ได้ส่งบาทหลวงมิชชันนารีไปเผยแผ่[[ศาสนาคริสต์]]ใน[[ทวีปเอเชีย]]และอเมริการวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4,200 คน โดยมี[[พันธกิจ]]หลักคือการปรับเปลี่ยนจารีตประเพณีของชนท้องถิ่น บวชคนพื้นเมืองเป็นนักบวช และปฏิบัติตามนโยบายของสันตะสำนักอย่างเคร่งครัด<ref name="Missions">Missions, p.4</ref>
คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว ค.ศ. 1658-63 ในปี ค.ศ. 1659 [[สมณะกระทรวงเผยแพร่ความเชื่อ]]ได้มีคำสั่งตั้งคณะอย่างเป็นทางการ และให้อภิสิทธิ์ว่าถ้าคณะนี้ไปเผยแผ่ศาสนาในดินแดน[[อาณานิคม]]ของ[[ประเทศสเปน]]และ[[โปรตุเกส]]ก็ไม่ต้องขึ้นกับประเทศเจ้าอาณานิคม (แต่ขึ้นกับ[[สันตะสำนัก]]อย่างเดียว) นับตั้งแต่ก่อตั้งมาภายในเวลา 350 ปี คณะก็ได้ส่งบาทหลวงมิชชันนารีไปเผยแผ่[[ศาสนาคริสต์]]ใน[[ทวีปเอเชีย]]และอเมริการวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4,200 คน โดยมี[[พันธกิจ]]หลักคือการปรับเปลี่ยนจารีตประเพณีของชนท้องถิ่น บวชคนพื้นเมืองเป็นนักบวช และปฏิบัติตามนโยบายของสันตะสำนักอย่างเคร่งครัด<ref name="Missions">Missions, p.4</ref>


ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] เมื่อมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสถูกรัฐบาลท้องถิ่นในเอเชียเบียดเบียน ฝรั่งเศสก็จะใช้เป็นข้ออ้างในการเข้าแทรกแซงและทำสงครามกับรัฐนั้น<ref name="Missions_2">Missions, p.5</ref> ที่เวียดนามมีพลเรือเอก[[ฌ็อง-บาติสต์ เซซีย์]] และพลเรือเอก[[รีโกลต์ เดอ เฌอนูยลี]]ใช้เหตุผลเดียวกันนี้นำกองทัพเข้าทำสงครามกับเวียดนาม ที่[[ประเทศจีน]]กองทัพฝรั่งเศสใช้กรณีฆาตกรรมบาทหลวง[[โอกุสต์ ชัปเดแลน]] เป็นข้ออ้างในการทำ[[สงครามฝิ่นครั้งที่ 2]] ในปี ค.ศ. 1856
ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] เมื่อมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสถูกรัฐบาลท้องถิ่นในเอเชียเบียดเบียน ฝรั่งเศสก็จะใช้เป็นข้ออ้างในการเข้าแทรกแซงและทำสงครามกับรัฐนั้น<ref name="Missions_2">Missions, p.5</ref> ที่เวียดนามมีพลเรือเอก[[ฌ็อง-บาติสต์ เซซีย์]] และพลเรือเอก[[รีโกลต์ เดอ เฌอนูยลี]]ใช้เหตุผลเดียวกันนี้นำกองทัพเข้าทำสงครามกับเวียดนาม ที่[[ประเทศจีน]]กองทัพฝรั่งเศสใช้กรณีฆาตกรรมบาทหลวง[[โอกุสต์ ชัปเดแลน]] เป็นข้ออ้างในการทำ[[สงครามฝิ่นครั้งที่สอง]] ในปี ค.ศ. 1856


ในปัจจุบันยังคงมีมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสปฏิบัติศาสนกิจอยู่ในทวีปเอเชีย
ในปัจจุบันยังคงมีมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสปฏิบัติศาสนกิจอยู่ในทวีปเอเชีย


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บาทหลวง[[อาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด]] [[มิชชันนารี]][[คณะเยสุอิต]]ซึ่งทำ[[การประกาศข่าวดี]]ในภูมิภาค[[ตะวันออกไกล]]ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] เห็นว่าควรบวชคนพื้นเมืองเป็นบาทหลวง คริสตจักรท้องถิ่นจะได้เติบโตก้าวหน้ายิ่งขึ้น จึงเดินทางไปกรุง[[โรม]] เพื่อขอให้[[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10]] ทรงแต่งตั้ง[[มุขนายก]][[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ไปปกครอง[[สำนักมิสซัง]]ในภูมิภาคนั้น แต่พระสันตะปาปาไม่ทรงตอบรับ ท่านจึงเดินทางไปปารีสเพื่อหาอาสาสมัครไปทำงานแพร่ธรรมต่อ บาทหลวง[[ฟร็องซัว ปาลูว์]] และบาทหลวง[[ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต]] อาสาทำงานนั้น ทั้งสองเดินทางไปกรุงโรมและได้รับ[[การอภิเษก]]เป็นมุขนายกในปี ค.ศ. 1658 โดยมุขนายกปาลูว์ได้รับมอบหมายให้ไปปกครองมิสซัง[[ตังเกี๋ย]] ส่วนมุขนายกล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต ให้ไปปกครองมิสซัง[[โคชินไชนา]] จึงถือว่าเหตุการณืนี้เป็นจุดเริ่มต้นของคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส">[http://haab.catholic.or.th/MissionMEP/historymep.html ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส], หอจดหมายเกตุ [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ]], เรียกข้อมูลวันที่ 22 พ.ย. 2557</ref> ต่อมา[[อีญาซ กอตอล็องดี]] ได้เข้าร่วมพันธกิจด้วย และได้รับอภิเษกเป็นมุขนายกเช่นกัน ทั้งสามได้รับสิทธิว่าภายในกำหนดระยะเวลา 7 ปีนั้นสามารถบวชกุลบุตรพื้นเมืองที่รู้[[ภาษาละติน]]เป็น[[บาทหลวง]]ได้ ทั้งสามยังได้ตั้ง[[เซมินารี]]ขึ้นที่กรุง[[ปารีส]]เพื่ออบรมกุลบุตรชาวฝรั่งเศสไปร่วมพันธกิจนี้
บาทหลวง[[อาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด]] [[มิชชันนารี]][[คณะเยสุอิต]]ซึ่งทำ[[การประกาศข่าวดี]]ในภูมิภาค[[ตะวันออกไกล]]ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 17]] เห็นว่าควรบวชคนพื้นเมืองเป็นบาทหลวง คริสตจักรท้องถิ่นจะได้เติบโตก้าวหน้ายิ่งขึ้น จึงเดินทางไปกรุง[[โรม]] เพื่อขอให้[[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10]] ทรงแต่งตั้ง[[มุขนายก]][[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ไปปกครอง[[สำนักมิสซัง]]ในภูมิภาคนั้น แต่พระสันตะปาปาไม่ทรงตอบรับ ท่านจึงเดินทางไปปารีสเพื่อหาอาสาสมัครไปทำงานแพร่ธรรมต่อ บาทหลวง[[ฟร็องซัว ปาลูว์]] และบาทหลวง[[ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต]] อาสาทำงานนั้น ทั้งสองเดินทางไปกรุงโรมและได้รับ[[การอภิเษก]]เป็นมุขนายกในปี ค.ศ. 1658 โดยมุขนายกปาลูว์ได้รับมอบหมายให้ไปปกครองมิสซัง[[ตังเกี๋ย]] ส่วนมุขนายกล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต ให้ไปปกครองมิสซัง[[โคชินไชนา]] จึงถือว่าเหตุการณืนี้เป็นจุดเริ่มต้นของคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส<ref name="ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส"/> ต่อมา[[อีญาซ กอตอล็องดี]] ได้เข้าร่วมพันธกิจด้วย และได้รับอภิเษกเป็นมุขนายกเช่นกัน ทั้งสามได้รับสิทธิว่าภายในกำหนดระยะเวลา 7 ปีนั้นสามารถบวชกุลบุตรพื้นเมืองที่รู้[[ภาษาละติน]]เป็น[[บาทหลวง]]ได้ ทั้งสามยังได้ตั้ง[[เซมินารี]]ขึ้นที่กรุง[[ปารีส]]เพื่ออบรมกุลบุตรชาวฝรั่งเศสไปร่วมพันธกิจนี้


มุขนายกทั้งสามพร้อมกับมิชชันนารีในคณะของตนทยอยออกเดินทางจากฝรั่งเศส คณะของมุขนายกเดอ ลา ม็อต ออกเดินทางในปี ค.ศ. 1660 มาถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1662 ส่วนคณะของมุขนายกปาลูว์มาถึงเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 ตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ส่วนมุขนายกกอตอล็องดีถึงแก่กรรมที่ประเทศอินเดียเสียก่อน ขณะนั้นเกิด[[การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน]]อย่างหนักในตังเกี๋ยและจีน ประกอบกับพระเจ้ากรุงสยามได้ต้อนรับคณะมิชชันนารีเป็นอย่างดี มุขนายกทั้งสองที่เหลือจึงตัดสินใจปักหลักประกาศศาสนาในดินแดนสยาม จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9]] จึงโปรดให้ตั้ง[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังสยาม]]เป็น[[เขตผู้แทนพระสันตะปาปา]] บาทหลวง[[หลุยส์ ลาโน]] มิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์ได้รับอภิเษกเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังองค์แรก
มุขนายกทั้งสามพร้อมกับมิชชันนารีในคณะของตนทยอยออกเดินทางจากฝรั่งเศส คณะของมุขนายกเดอ ลา ม็อต ออกเดินทางในปี ค.ศ. 1660 มาถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1662 ส่วนคณะของมุขนายกปาลูว์มาถึงเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 ตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ส่วนมุขนายกกอตอล็องดีถึงแก่กรรมที่ประเทศอินเดียเสียก่อน ขณะนั้นเกิด[[การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน]]อย่างหนักในตังเกี๋ยและจีน ประกอบกับพระเจ้ากรุงสยามได้ต้อนรับคณะมิชชันนารีเป็นอย่างดี มุขนายกทั้งสองที่เหลือจึงตัดสินใจปักหลักประกาศศาสนาในดินแดนสยาม จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 [[สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9]] จึงโปรดให้ตั้ง[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ|มิสซังสยาม]]เป็น[[เขตผู้แทนพระสันตะปาปา]] บาทหลวง[[หลุยส์ ลาโน]] มิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์ได้รับอภิเษกเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังองค์แรก


มิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสยังคงปฏิบัติพันธกิจอยู่จวบจนปัจจุบัน ตามสถิติปี ค.ศ. 2010 คณะมีสมาชิกเป็นบาทหลวง 247 องค์<ref>{{cite web|title=La Société des Missions Etrangères|url=http://www.catholic-hierarchy.org/diocese/dqmep.html|publisher=The Hierarchy of the Catholic Church|date= 3 April 2013|accessdate=11 April 2013}}</ref>
มิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสยังคงปฏิบัติพันธกิจอยู่จวบจนปัจจุบัน ตามสถิติปี ค.ศ. 2014 คณะมีสมาชิกเป็นบาทหลวง 208 องค์<ref>{{cite web|title=La Société des Missions Etrangères|url=http://www.catholic-hierarchy.org/diocese/dqmep.html|publisher=The Hierarchy of the Catholic Church|date= 31 December 2015|accessdate=8 January 2016}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:14, 8 มกราคม 2559

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส
ชื่อย่อM.E.P.
ก่อตั้งค.ศ. 1658
ประเภทคณะชีวิตแพร่ธรรม
สํานักงานใหญ่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
บาทหลวง Georges Colomb
เว็บไซต์http://www.mepasie.org/

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส[1] (ฝรั่งเศส: Missions Étrangères de Paris; M.E.P) เป็นคณะชีวิตแพร่ธรรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก (ไม่ใช่คณะนักบวชคาทอลิก) สมาชิกประกอบด้วยบาทหลวงประจำมุขมณฑลและฆราวาสที่อุทิศตนทำงานเป็นมิชชันนารีในต่างประเทศ[2]

คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสก่อตั้งราว ค.ศ. 1658-63 ในปี ค.ศ. 1659 สมณะกระทรวงเผยแพร่ความเชื่อได้มีคำสั่งตั้งคณะอย่างเป็นทางการ และให้อภิสิทธิ์ว่าถ้าคณะนี้ไปเผยแผ่ศาสนาในดินแดนอาณานิคมของประเทศสเปนและโปรตุเกสก็ไม่ต้องขึ้นกับประเทศเจ้าอาณานิคม (แต่ขึ้นกับสันตะสำนักอย่างเดียว) นับตั้งแต่ก่อตั้งมาภายในเวลา 350 ปี คณะก็ได้ส่งบาทหลวงมิชชันนารีไปเผยแผ่ศาสนาคริสต์ในทวีปเอเชียและอเมริการวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4,200 คน โดยมีพันธกิจหลักคือการปรับเปลี่ยนจารีตประเพณีของชนท้องถิ่น บวชคนพื้นเมืองเป็นนักบวช และปฏิบัติตามนโยบายของสันตะสำนักอย่างเคร่งครัด[3]

ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสถูกรัฐบาลท้องถิ่นในเอเชียเบียดเบียน ฝรั่งเศสก็จะใช้เป็นข้ออ้างในการเข้าแทรกแซงและทำสงครามกับรัฐนั้น[4] ที่เวียดนามมีพลเรือเอกฌ็อง-บาติสต์ เซซีย์ และพลเรือเอกรีโกลต์ เดอ เฌอนูยลีใช้เหตุผลเดียวกันนี้นำกองทัพเข้าทำสงครามกับเวียดนาม ที่ประเทศจีนกองทัพฝรั่งเศสใช้กรณีฆาตกรรมบาทหลวงโอกุสต์ ชัปเดแลน เป็นข้ออ้างในการทำสงครามฝิ่นครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1856

ในปัจจุบันยังคงมีมิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสปฏิบัติศาสนกิจอยู่ในทวีปเอเชีย

ประวัติ

บาทหลวงอาแล็กซ็องดร์ เดอ รอด มิชชันนารีคณะเยสุอิตซึ่งทำการประกาศข่าวดีในภูมิภาคตะวันออกไกลในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 เห็นว่าควรบวชคนพื้นเมืองเป็นบาทหลวง คริสตจักรท้องถิ่นจะได้เติบโตก้าวหน้ายิ่งขึ้น จึงเดินทางไปกรุงโรม เพื่อขอให้สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10 ทรงแต่งตั้งมุขนายกผู้แทนพระสันตะปาปาไปปกครองสำนักมิสซังในภูมิภาคนั้น แต่พระสันตะปาปาไม่ทรงตอบรับ ท่านจึงเดินทางไปปารีสเพื่อหาอาสาสมัครไปทำงานแพร่ธรรมต่อ บาทหลวงฟร็องซัว ปาลูว์ และบาทหลวงปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต อาสาทำงานนั้น ทั้งสองเดินทางไปกรุงโรมและได้รับการอภิเษกเป็นมุขนายกในปี ค.ศ. 1658 โดยมุขนายกปาลูว์ได้รับมอบหมายให้ไปปกครองมิสซังตังเกี๋ย ส่วนมุขนายกล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต ให้ไปปกครองมิสซังโคชินไชนา จึงถือว่าเหตุการณืนี้เป็นจุดเริ่มต้นของคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส[1] ต่อมาอีญาซ กอตอล็องดี ได้เข้าร่วมพันธกิจด้วย และได้รับอภิเษกเป็นมุขนายกเช่นกัน ทั้งสามได้รับสิทธิว่าภายในกำหนดระยะเวลา 7 ปีนั้นสามารถบวชกุลบุตรพื้นเมืองที่รู้ภาษาละตินเป็นบาทหลวงได้ ทั้งสามยังได้ตั้งเซมินารีขึ้นที่กรุงปารีสเพื่ออบรมกุลบุตรชาวฝรั่งเศสไปร่วมพันธกิจนี้

มุขนายกทั้งสามพร้อมกับมิชชันนารีในคณะของตนทยอยออกเดินทางจากฝรั่งเศส คณะของมุขนายกเดอ ลา ม็อต ออกเดินทางในปี ค.ศ. 1660 มาถึงกรุงศรีอยุธยาเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1662 ส่วนคณะของมุขนายกปาลูว์มาถึงเมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1664 ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ส่วนมุขนายกกอตอล็องดีถึงแก่กรรมที่ประเทศอินเดียเสียก่อน ขณะนั้นเกิดการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนอย่างหนักในตังเกี๋ยและจีน ประกอบกับพระเจ้ากรุงสยามได้ต้อนรับคณะมิชชันนารีเป็นอย่างดี มุขนายกทั้งสองที่เหลือจึงตัดสินใจปักหลักประกาศศาสนาในดินแดนสยาม จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1669 สมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 9 จึงโปรดให้ตั้งมิสซังสยามเป็นเขตผู้แทนพระสันตะปาปา บาทหลวงหลุยส์ ลาโน มิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์ได้รับอภิเษกเป็นผู้แทนพระสันตะปาปาประมุขมิสซังองค์แรก

มิชชันนารีคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสยังคงปฏิบัติพันธกิจอยู่จวบจนปัจจุบัน ตามสถิติปี ค.ศ. 2014 คณะมีสมาชิกเป็นบาทหลวง 208 องค์[5]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "ประวัติความเป็นมาคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส". หอจดหมายเกตุ มิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2555. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. Asia in the Making of Europe, p.231
  3. Missions, p.4
  4. Missions, p.5
  5. "La Société des Missions Etrangères". The Hierarchy of the Catholic Church. 31 December 2015. สืบค้นเมื่อ 8 January 2016.
  • Missions étrangères de Paris. 350 ans au service du Christ 2008 Editeurs Malesherbes Publications, Paris ISBN 978-2-916828-10-7