ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Cappella brancacci, Battesimo dei neofiti (restaurato), Masaccio2.jpg|thumb|การให้บัพติศฒาแก่ Neophytes วาดโดย[[มาซัชโช]] เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่[[ฟลอเรนซ์]]]]
[[ไฟล์:Cappella brancacci, Battesimo dei neofiti (restaurato), Masaccio2.jpg|thumb|การให้บัพติศฒาแก่ Neophytes วาดโดย[[มาซัชโช]] เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่[[ฟลอเรนซ์]]]]
'''พิธีรับเข้าเป็น[[คริสต์ศาสนิกชน]]''' (ศัพท์ประชากรศาสตร์) '''พิธีบัพติศมา'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88</ref> (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ '''ศีลล้างบาป'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"/> (ศัพท์คาทอลิก) ({{lang-en|Baptism}} มาจาก[[ภาษากรีก]] baptismos แปลว่า ''การล้าง'') เป็น[[พิธีศักดิ์สิทธิ์]]ใน[[ศาสนาคริสต์]] ทำขึ้นเพื่อรับ "[[คริสต์ศาสนิกชน|ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ]]" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของ[[คริสตจักร]]
'''พิธีรับเข้าเป็น[[คริสต์ศาสนิกชน]]'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/ ศัพท์ประชากรศาสตร์], ราชบัณฑิตยสถาน</ref> (ศัพท์ประชากรศาสตร์) '''พิธีบัพติศมา'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88</ref> (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ '''ศีลล้างบาป'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"/> (ศัพท์คาทอลิก) ({{lang-en|Baptism}} มาจาก[[ภาษากรีก]] baptismos แปลว่า ''การล้าง'') เป็น[[พิธีศักดิ์สิทธิ์]]ใน[[ศาสนาคริสต์]] ทำขึ้นเพื่อรับ "[[คริสต์ศาสนิกชน|ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ]]" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของ[[คริสตจักร]]


[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาใหม่]]ระบุว่า[[ยอห์นผู้ให้บัพติศมา]]เริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของ[[การเปลี่ยนชีวิต|การกลับใจ]]และรอคอย[[อาณาจักรของพระเป็นเจ้า|อาณาจักรสวรรค์]]ซึ่งกำลังจะมาถึง [[พระเยซูทรงรับบัพติศมา]]จากยอห์นในครั้งนั้นด้วย<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Matt/3#16 มัทธิว 3:16]</ref><ref>[http://www.bible.is/THATSV/Mark/1#9 มาระโก 1:9-10]</ref><ref>[http://www.bible.is/THATSV/Luke/3#21 ลูกา 3:21]</ref> จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาใน[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก]]พิธีจะให้ผู้รับเปลือยกาย<ref>CROSSAN, John Dominic ''A Death in Jerussalem'' (Sonoma, CA: Polebridge Press, 1996)</ref>ลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง
[[คัมภีร์ไบเบิล]]ภาค[[พันธสัญญาใหม่]]ระบุว่า[[ยอห์นผู้ให้บัพติศมา]]เริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของ[[การเปลี่ยนชีวิต|การกลับใจ]]และรอคอย[[อาณาจักรของพระเป็นเจ้า|อาณาจักรสวรรค์]]ซึ่งกำลังจะมาถึง [[พระเยซูทรงรับบัพติศมา]]จากยอห์นในครั้งนั้นด้วย<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Matt/3#16 มัทธิว 3:16]</ref><ref>[http://www.bible.is/THATSV/Mark/1#9 มาระโก 1:9-10]</ref><ref>[http://www.bible.is/THATSV/Luke/3#21 ลูกา 3:21]</ref> จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาใน[[ศาสนาคริสต์ยุคแรก]] ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกาย<ref>CROSSAN, John Dominic ''A Death in Jerussalem'' (Sonoma, CA: Polebridge Press, 1996)</ref>ลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง


การเป็น[[มรณสักขีในศาสนาคริสต์]]ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับ[[ความรอด]]แล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักร[[โรมันคาทอลิก]]ปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ด้วย ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว<ref name="vatican">{{Cite web|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/__P3M.HTM |title=The Necessity of Baptism |work=[[Catechism of the Catholic Church]] |publisher=[[Vatican Publishing House]] |year=1993 |accessdate=February 24, 2009}}</ref> [[คริสต์ศาสนิกชน]]มักประกอบ[[พิธีบัพติศมาแก่ทารก]]ด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อ[[ฮุลดริช ซวิงลี]] นัก[[เทววิทยาศาสนาคริสต์]]สมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]] กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น<ref name="cross2005baptism">{{Cite book|first=Frank Leslie |last=Cross |authorlink=Frank Leslie Cross |coauthors=Elizabeth A. Livingstone |chapter=Baptism |title=The Oxford Dictionary of the Christian Church |publisher=[[Oxford University Press]] |location=[[Oxford]] |year=2005 |pages=151–154 |isbn=0-19-280290-9 |oclc=58998735}}</ref> คริสตจักร[[แบปทิสต์]]จึงประกอบ[[พิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อ]]เองเท่านั้น
การเป็น[[มรณสักขีในศาสนาคริสต์]]ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับ[[ความรอด]]แล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักร[[โรมันคาทอลิก]]ปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว<ref name="vatican">{{Cite web|url=http://www.vatican.va/archive/ENG0015/__P3M.HTM |title=The Necessity of Baptism |work=[[Catechism of the Catholic Church]] |publisher=[[Vatican Publishing House]] |year=1993 |accessdate=February 24, 2009}}</ref> [[คริสต์ศาสนิกชน]]บางนิกายประกอบ[[พิธีบัพติศมาแก่ทารก]]ด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อ[[ฮุลดริช ซวิงลี]] นัก[[เทววิทยาศาสนาคริสต์]]สมัย[[คริสต์ศตวรรษที่ 16]] กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น<ref name="cross2005baptism">{{Cite book|first=Frank Leslie |last=Cross |authorlink=Frank Leslie Cross |coauthors=Elizabeth A. Livingstone |chapter=Baptism |title=The Oxford Dictionary of the Christian Church |publisher=[[Oxford University Press]] |location=[[Oxford]] |year=2005 |pages=151–154 |isbn=0-19-280290-9 |oclc=58998735}}</ref> คริสตจักร[[แบปทิสต์]]จึงประกอบ[[พิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อ]]เองเท่านั้น


ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะ[[เควเกอร์]]และ[[แซลเวชันอาร์มี]]ถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "''[[ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์]]''" (โปรเตสแตนต์) หรือ "''เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต''" (คาทอลิก) โดยถือตาม[[พระมหาบัญชา]]ก่อน[[การเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู]]
ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะ[[เควเกอร์]]และ[[แซลเวชันอาร์มี]]ถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "''[[ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์]]''" (โปรเตสแตนต์) หรือ "''เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต''" (คาทอลิก) โดยถือตาม[[พระมหาบัญชา]]ก่อน[[การเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
* พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับมาตรฐาน
* ''พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับมาตรฐาน 2011'', สมาคมพระคริสตธรรมไทย
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:46, 25 กันยายน 2557

การให้บัพติศฒาแก่ Neophytes วาดโดยมาซัชโช เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเก็บอยู่ที่ฟลอเรนซ์

พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน[1] (ศัพท์ประชากรศาสตร์) พิธีบัพติศมา[2] (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศีลล้างบาป[2] (ศัพท์คาทอลิก) (อังกฤษ: Baptism มาจากภาษากรีก baptismos แปลว่า การล้าง) เป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาคริสต์ ทำขึ้นเพื่อรับ "ผู้ที่เพิ่งรับเชื่อ" เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของคริสตจักร

คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ระบุว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาเริ่มประกอบพิธีนี้ให้สาวกของตน โดยให้ผู้รับจุ่มตัวลงในแม่น้ำลึก ถือเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและรอคอยอาณาจักรสวรรค์ซึ่งกำลังจะมาถึง พระเยซูทรงรับบัพติศมาจากยอห์นในครั้งนั้นด้วย[3][4][5] จากนั้นจึงเริ่มปฏิบัติพระภารกิจของพระองค์ ต่อมาในศาสนาคริสต์ยุคแรก ผู้ให้บัพติศมาจะให้ผู้รับเปลือยกาย[6]ลงแช่ในแม่น้ำ ซึ่งมีทั้งแบบให้จุ่มทั้งตัว ยืน หรือคุกเข่าในน้ำ แล้ว "ผู้ให้บัพติศมา" จะตักน้ำรดลงบน "ผู้รับบัพติศมา" ในปัจจุบันบางคริสตจักรยังรักษาวิธีการแบบเดิม บางคริสตจักรก็ใช้วิธีเทน้ำรดลงบนหน้าผากของผู้รับสามครั้ง

การเป็นมรณสักขีในศาสนาคริสต์ก็ถือว่าเป็นการรับบัพติศมาด้วย เรียกว่า "พิธีบัพติศมาด้วยเลือด" เชื่อว่ามรณสักขีนั้นได้รับความรอดแล้วแม้จะยังไม่ได้รับบัพติศมาด้วยน้ำก็ตาม คริสตจักรโรมันคาทอลิกปัจจุบันรับรอง "พิธีบัพติศมาแห่งความปรารถนา" ซึ่งหมายถึงความตั้งใจจะรับบัพติศมาแต่เสียชีวิตเสียก่อนเข้าพิธี ก็ถือว่าได้รับความรอดแล้ว[7] คริสต์ศาสนิกชนบางนิกายประกอบพิธีบัพติศมาแก่ทารกด้วย เพราะเชื่อว่าบัพติศมาเป็นทางแห่งความรอด จนเมื่อฮุลดริช ซวิงลี นักเทววิทยาศาสนาคริสต์สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 กล่าวว่าพิธีนี้ไม่จำเป็น[8] คริสตจักรแบปทิสต์จึงประกอบพิธีบัพติศมาแก่ผู้เชื่อเองเท่านั้น

ทุกวันนี้คริสต์ศาสนิกชนหลายกลุ่ม โดยเฉพาะเควเกอร์และแซลเวชันอาร์มีถือว่าพิธีนี้ไม่จำเป็นและไม่ประกอบพิธีนี้เลย แต่กลุ่มที่ยังมีพิธีนี้อยู่ก็มีรูปแบบพิธีแตกต่างกันไป ส่วนมากรับบัพติศมา "ในพระนามของพระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์" (โปรเตสแตนต์) หรือ "เดชะพระนามพระบิดา พระบุตร และพระจิต" (คาทอลิก) โดยถือตามพระมหาบัญชาก่อนการเสด็จขึ้นสวรรค์ของพระเยซู

อ้างอิง

  • พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับมาตรฐาน 2011, สมาคมพระคริสตธรรมไทย
  1. ศัพท์ประชากรศาสตร์, ราชบัณฑิตยสถาน
  2. 2.0 2.1 ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 88
  3. มัทธิว 3:16
  4. มาระโก 1:9-10
  5. ลูกา 3:21
  6. CROSSAN, John Dominic A Death in Jerussalem (Sonoma, CA: Polebridge Press, 1996)
  7. "The Necessity of Baptism". Catechism of the Catholic Church. Vatican Publishing House. 1993. สืบค้นเมื่อ February 24, 2009.
  8. Cross, Frank Leslie (2005). "Baptism". The Oxford Dictionary of the Christian Church. Oxford: Oxford University Press. pp. 151–154. ISBN 0-19-280290-9. OCLC 58998735. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)

แม่แบบ:Link GA