ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| พระบิดา = [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์]]
| พระบิดา = [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์]]
| พระราชมารดา =
| พระราชมารดา =
| พระมารดา = หม่อมบุญมา เสนีวงศ์ ณ อยุธยา
| พระมารดา = หม่อมบุญมา
| ราชวงศ์ = จักรี
| ราชวงศ์ = จักรี
}}
}}
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด เสนีวงศ์) ประสูติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 มีพระนามเดิมว่าหม่อมเจ้าทัด ทรงอุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. 2385 โดยเป็นนาคหลวงที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] แล้วไปประทับที่[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]
หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด เสนีวงศ์) ประสูติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 มีพระนามเดิมว่าหม่อมเจ้าทัด ทรงเป็นนาคหลวงอุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. 2385 ที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] มี[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ [[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี)|พระมหาโต]]เป็นพระกรรมวาจาจารย์ แล้วไปประทับที่[[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร]]


ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงสมณศักดิ์ที่'''หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์'''
พ.ศ. 2407 ได้รับแต่งตั้งเป็น[[พระราชาคณะ]]ที่ ''หม่อมเจ้าพุทธุปบาทปิลันทน์''


ต่อมาในปี พ.ศ. 2413 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 จึงได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทน[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)]] ที่มรณภาพ<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=สมประสงค์ ทรัพย์พาลี||ชื่อหนังสือ=๑๐๑ จุลจักรี ๑๐๑ ปี จุลจอมเกล้า||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2555||ISBN=9786169092605||หน้า=||จำนวนหน้า=154}}</ref> โดยทรงสมณศักดิ์สุดท้ายเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ที่ '''หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์''' จนสิ้นชีพิตักษัยในปี 2443
ต่อมาในปี พ.ศ. 2413 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 จึงได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทน[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)]] ที่มรณภาพ<ref>{{อ้างหนังสือ||ผู้แต่ง=สมประสงค์ ทรัพย์พาลี||ชื่อหนังสือ=๑๐๑ จุลจักรี ๑๐๑ ปี จุลจอมเกล้า||URL=||จังหวัด=กรุงเทพ||พิมพ์ที่=||ปี= พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2555||ISBN=9786169092605||หน้า=||จำนวนหน้า=154}}</ref>

พ.ศ. 2430 เป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่ ''หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ธรรมเจดีย์ กระวีวงศ์นายก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี''

พ.ศ. 2435 ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]ฝ่ายเหนือที่ ''[[พระพิมลธรรม|พระพิมลธรรม์]] มหันตคุณ วิบุลปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการภูษิต อุตรทิศคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2435/052/461.PDF คำประกาศตั้งตำแหน่งพระสงฆ์], เล่ม 9, หน้า 461-2</ref> ย้ายไปครอง[[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]]

พ.ศ. 2437 ได้รับสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]เจ้าคณะใหญ่คณะกลางและเจ้าคณะอรัญวาสีที่ '''หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์'''

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2443


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด)}}
{{เรียงลำดับ|พุฒาจารย์ (ทัด)}}
{{เกิดปี|2365}}
{{เกิดปี|2365}}
{{ตายปี|2443}}
{{ตายปี|2443}}
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาส]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระราชาคณะ|พุฒาจารย์ (ทัด)]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระราชาคณะ]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 7 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร‎‎]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร‎‎]]
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้า]]
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้า]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลเสนีวงศ์]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลเสนีวงศ์]]
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์ที่เป็นพระราชวงศ์]]
[[หมวดหมู่:พระสงฆ์ที่เป็นพระราชวงศ์]]
[[หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (มหานิกาย)]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:05, 10 กันยายน 2557

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์
(ทัด เสนีวงศ์)

ทัด เสนีวงศ์
ประสูติ9 ตุลาคม พ.ศ. 2365
สิ้นพระชนม์10 มิถุนายน พ.ศ.2443
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์
พระมารดาหม่อมบุญมา

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด เสนีวงศ์) (9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2443) พระโอรสในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแตง กรมหลวงเสนีบริรักษ์ พระนัดดาในสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าทองอิน กรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ (วังหลัง)

ประวัติ

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัด เสนีวงศ์) ประสูติเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2365 มีพระนามเดิมว่าหม่อมเจ้าทัด ทรงเป็นนาคหลวงอุปสมบทเมื่อปี พ.ศ. 2385 ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีสมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาโตเป็นพระกรรมวาจาจารย์ แล้วไปประทับที่วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร

พ.ศ. 2407 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะที่ หม่อมเจ้าพุทธุปบาทปิลันทน์

ต่อมาในปี พ.ศ. 2413 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 จึงได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ที่มรณภาพ[1]

พ.ศ. 2430 เป็นพระราชาคณะผู้ใหญ่ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ธรรมเจดีย์ กระวีวงศ์นายก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี

พ.ศ. 2435 ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายเหนือที่ พระพิมลธรรม์ มหันตคุณ วิบุลปรีชาญาณนายก ตรีปิฎกคุณาลังการภูษิต อุตรทิศคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี[2] ย้ายไปครองวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร

พ.ศ. 2437 ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะเจ้าคณะใหญ่คณะกลางและเจ้าคณะอรัญวาสีที่ หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์

หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2443

อ้างอิง

  1. สมประสงค์ ทรัพย์พาลี. ๑๐๑ จุลจักรี ๑๐๑ ปี จุลจอมเกล้า. กรุงเทพ : [ม.ป.พ.], พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2555. 154 หน้า. ISBN 9786169092605
  2. ราชกิจจานุเบกษา, คำประกาศตั้งตำแหน่งพระสงฆ์, เล่ม 9, หน้า 461-2