ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยอภิบาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ในโรงพยาบาลบางแห่ง ได้แยกหน่วยอภิบาลออกเป็นหน่วยย่อยที่จำเพาะ ตามชนิดและอาการของผู้ป่วยหนัก เพื่อให้ผู้ป่วยหนักเหล่านั้น ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ด้วยทีมงานที่เฉพาะเจาะจงตรงตามโรคและอาการ ซึ่งสามารถแยกเป็นหน่วยงานจำเพาะดังนี้
ในโรงพยาบาลบางแห่ง ได้แยกหน่วยอภิบาลออกเป็นหน่วยย่อยที่จำเพาะ ตามชนิดและอาการของผู้ป่วยหนัก เพื่อให้ผู้ป่วยหนักเหล่านั้น ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ด้วยทีมงานที่เฉพาะเจาะจงตรงตามโรคและอาการ ซึ่งสามารถแยกเป็นหน่วยงานจำเพาะดังนี้


'หน่วยอภิบาลป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ' - CCU (Coronary Care Unit)
หน่วยอภิบาลป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ - CCU (Coronary Care Unit)
ซึ่งดูแลผู้ป่วยหนักที่เจ็บป่วยด้วยโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือดโดยเฉพาะ
ซึ่งดูแลผู้ป่วยหนักที่เจ็บป่วยด้วยโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือดโดยเฉพาะ


'หน่วยอภิบาลโรคหลอดเลือดสมอง' - SCU (Stroke Care Unit)
หน่วยอภิบาลโรคหลอดเลือดสมอง - SCU (Stroke Care Unit)
ซึ่งดูแลผู้ป่วยหนักที่เจ็บป่วยโรคทางหลอดเลือดสมอง จัดเป็นโรคทางระบบประสาทวิทยาทั่วไป นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลที่ได้รับการจัดตั้งขึ้น NCU ยัง (Neurosurgical Care Unit)
ซึ่งดูแลผู้ป่วยหนักที่เจ็บป่วยโรคทางหลอดเลือดสมอง จัดเป็นโรคทางระบบประสาทวิทยาทั่วไป นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลที่ได้รับการจัดตั้งขึ้น NCU ยัง (Neurosurgical Care Unit)

หน่วยอภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม - SICU (Surgical Intensive Care Unit)
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม - SICU (Surgical Intensive Care Unit)
อาจกล่าวได้เป็น "ห้องพักฟื้น" สำหรับผู้ป่วยที่พึ่งได้รับการผ่าตัดด้วยการดมยาสลบเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมีความต้องการการดูแลเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด (โดยปกติจะให้พักอยู่ 1-2วัน)
อาจกล่าวได้ว่าเป็น "ห้องพักฟื้น" สำหรับผู้ป่วยที่พึ่งได้รับการผ่าตัดด้วยการดมยาสลบเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมีความต้องการการดูแลเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด (โดยปกติจะให้พักอยู่ 1-2วัน)

หน่วยอภิบาลศัลยกรรมประสาท - NCU (Neurosurgical Care Unit)
หน่วยอภิบาลศัลยกรรมประสาท - NCU (Neurosurgical Care Unit)
เป็นหน่วยงานเฉพาะ สำหรับดูแลผู้ป่วยหลังจากได้รับการผ่าตัดด้านสมองมาแล้ว เป็นการรวมเอาบทบาทหน้าที่ของ SCU (Stroke Care Unit)และ SICU (Surgical Intensive Care Unit) เข้าด้วยกัน
มันตั้งอยู่ในศัลยกรรมหลังจากบาดเจ็บที่ศีรษะหรือโรคของสมอง โรงพยาบาลและ NCU มันรวมบทบาทของ SCU (หน่วยดูแลโรคหลอดเลือดสมอง) ในหลายกรณี เพราะพื้นที่ที่มีการทับซ้อน (หน่วยดูแลเข้มการผ่าตัด) SICU โรงพยาบาลใส่ทั้งสอง SICU และ NCU ไม่ได้อยู่เพื่อให้ห่างไกลในประเทศญี่ปุ่น

หออภิบาลทารกแรก - NICU (หออภิบาลทารกแรก)
หน่วยอภิบาลทารกแรกเกิด - NICU (Neonatal Intensive Care Unit)
ที่ผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิดของ ผู้ที่จะแนบไปกับภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา, การกำหนดเป้​​าหมายผู้ป่วยที่อยู่ในความต้องการเช่นภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดและเด็กทารกที่น้ำหนักแรกเกิดต่ำและการดูแลอย่างเข้มข้นร้อยละขนาดเล็กของทารกแรกเกิด ถูกต้องระบุหออภิบาลทารกแรก
สำหรับดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติ เช่น ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด, เด็กทารกที่น้ำหนักแรกเกิดต่ำ, เด็กคลอดก่อนกำหนด โดยผู้ที่ดูแลจะประกอบไปด้วยทีมจากภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา
โรคไตการดูแลอย่างเข้มข้น - KICU (หน่วยดูแลโรคไต Intensive)

มีไว้สำหรับผู้ป่วยโรคไต
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยโรคไต - KICU (Kidney Intensive Care Unit)
โรคจิตผู้ป่วยหนัก - Picu (หน่วยจิตเวชการดูแลเร่งรัด)
มีไว้สำหรับดูแลผู้ป่วยโรคไตอย่างใกล้ชิด
จะได้รับการติดตั้งในโรงพยาบาลจิตเวชโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็นผู้ที่ดูแลทางจิตที่เข้มข้นของผู้ป่วยเฉียบพลันให้กับผู้ที่ดูแลผู้ป่วยอย่างเข้มข้นที่มีเงื่อนไขทางการแพทย์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันของโรคจิตอื่น ๆ กว่า อดีตเป็นห้องแยกและเอกชนนอกจากนี้ยังอาจมีนี้หอผู้ป่วยเฉียบพลันมากที่สุด Picu โดยโรงพยาบาล

หน่วยการดูแลเด็กอย่างเข้มข้น - Picu (หน่วยดูแลผู้ป่วยเด็ก Intensive)
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยโรคจิต - Picu (Psychiatry Intensive Care Unit)
และการติดตั้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงพยาบาลเด็กทำงานหรือโรงพยาบาลจำนวนของสิ่งอำนวยความสะดวกเป็นสำคัญเนื่องจากสถานการณ์ต่างๆโดยรอบกุมารเวชศาสต​​ร์ ผมและรองรับผู้ป่วยเด็กที่มีโรคที่รักษาไม่หายรวมทั้งโรคหัวใจผู้ป่วยที่ป่วยหนักผู้ป่วยเด็กที่เป็นรถพยาบาล
เป็นหน่วยที่จัดตั้งขึ้นในโรงพยาบาลที่ให้บริการรักษาเกี่ยวกับจิตเวช โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็นการดูแลผู้ที่มีอาการทางจิตชนิดเฉียบพลัน และผู้ที่มีอาการทางจิตอันสืบเนื่องจากโรคทางจิต
โรคทางเดินหายใจอย่างเข้มข้นดูแล RCU (หน่วยการดูแลระบบทางเดินหายใจ)

มีไว้สำหรับผู้ป่วยที่มีโรคระบบทางเดินหายใจรุนแรง
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยเด็ก - Picu (Pediatric Intensive Care Unit)
มารดาของทารกในครรภ์อย่างเข้มข้นดูแล MFICU (มารดาของทารกในครรภ์หน่วยดูแล Intensive)
เป็นหน่วยที่จัดตั้งขึ้นเฉพาะในโรงพยาบาลเด็ก ประกอบไปด้วยทีมจากกุมารเวชศาสต​​ร์ รองรับผู้ป่วยเด็กที่มีอากาหนัก, ผู้ป่วยเด็กเรื้อรัง รวมทั้งโรคหัวใจในผู้ป่วยเด็ก
จึงเรียกว่าสูติห้องไอซียูเพื่อรองรับหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มที่การทำแท้งที่ถูกคุกคามและมีความเสี่ยงสูงภาวะแทรกซ้อนการตั้งครรภ์เช่นหญิงตั้งครรภ์ มันได้กลายเป็นห้องส่วนตัวโดยทั่วไป ดูเหมือนว่านอกจากนี้ยังมีห้องคลอดเทียบเท่ากับสิ่งอำนวยความสะดวก

ขั้นสูงการดูแล / หน่วยดูแลสูง - HCU (หน่วยการดูแลสูง)
หน่วยอภิบาลโรคทางเดินหายใจ - RCU (Respiratory Care Unit)
ซึ่งแตกต่างจากความประทับใจที่ได้รับจากชื่อที่อันดับหล่นลงมาจากห้องไอซียู เมื่อย้ายไปอยู่ที่หอผู้ป่วยทั่วไปจากห้องไอซียูและจะใช้ในการสังเกตหรือการเรียนการสอน ในบางกรณีหน่วยงานทางการแพทย์และวิสัญญีแพทย์แพทย์ไม่ได้อยู่
มีไว้สำหรับผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจรุนแรง
ที่สำคัญการดูแลห้องไอซียู

มีให้ในศูนย์ฉุกเฉินเพื่อรองรับผู้ป่วยที่ป่วยหนักที่มีการขนส่งโดยการบาดเจ็บการแพทย์ฉุกเฉินเช่นเจ็บป่วยกะทันหัน คุณจะต้องรับผิดชอบในพื้นที่ของการแพทย์ฉุกเฉินจะถูกโอนไปยัง HCU ·ทั่วไปหอผู้ป่วยไอซียูและของอื่น ๆ และได้รับการออกจากวิกฤตของชีวิต
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยตั้งครรภ์ - MFICU (Maternal Fetal Intensive Care Unit)
อาจจะเรียกหน่วยนี้ อีกอย่างได้ว่า ห้องคลอด ICU ซึ่งมีเพื่อรองรับหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มแท้งคุกคาม, การตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง, มีภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์

หน่วยอภิบาลการดูแลพิเศษ - HCU (High Care Unit)
อธิบายให้ทำความเข้าใจได้ง่ายๆ คือ ICU ที่ลดความเข้มข้นในการดูแลลง เป็นหน่วยที่ดูแลผู้ป่วยชั่วคราวซึ่งอยู่ระหว่างย้ายออกจาก ICU ไปยังห้องผู้ป่วย หรือผู้ป่วยที่ต้องการการเฝ้าสังเกตอาการ

{{เวชบำบัดวิกฤต}}
{{เวชบำบัดวิกฤต}}
[[หมวดหมู่:เวชบำบัดวิกฤต]]
[[หมวดหมู่:เวชบำบัดวิกฤต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:59, 30 เมษายน 2556

หน่วยอภิบาล (ไอซียู)

หน่วยอภิบาล (อังกฤษ: intensive-care unit) หรือที่รู้จักกันว่า ไอซียู (ICU) เป็นหน่วยเฉพาะทางในโรงพยาบาลซึ่งให้บริการเวชบำบัดวิกฤตหรือดูแลผู้ป่วยวิกฤต ในโรงพยาบาลบางแห่งได้แยกหน่วยอภิบาลที่จำเพาะกับสาขาเฉพาะทางต่างๆ เช่น หน่วยอภิบาลกุมารเวชศาสตร์ หน่วยอภิบาลทารกแรกเกิด หน่วยอภิบาลศัลยศาสตร์ หน่วยอภิบาลอายุรศาสตร์ หน่วยอภิบาลโรคหัวใจ เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้ในหน่วยอภิบาล อาทิ เครื่องช่วยหายใจ (mechanical ventilator) เครื่องเฝ้าระวังเกี่ยวกับหัวใจ ได้แก่ เครื่องวัดความดัน อัตราการเต้นหัวใจ ตัวคุมจังหวะหัวใจนอกร่างกาย และเครื่องกระตุ้นหัวใจ อุปกรณ์สำหรับการล้างไต เครื่องตรวจวัดการทำหน้าที่ของร่างกาย อุปกรณ์สำหรับการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ สายให้อาหาร เครื่องดูดเสมหะ สายระบายและหลอดสวน รวมทั้งยา

หน่วยอภิบาลเฉพาะทาง ในโรงพยาบาลบางแห่ง ได้แยกหน่วยอภิบาลออกเป็นหน่วยย่อยที่จำเพาะ ตามชนิดและอาการของผู้ป่วยหนัก เพื่อให้ผู้ป่วยหนักเหล่านั้น ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ด้วยทีมงานที่เฉพาะเจาะจงตรงตามโรคและอาการ ซึ่งสามารถแยกเป็นหน่วยงานจำเพาะดังนี้

หน่วยอภิบาลป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ - CCU (Coronary Care Unit) ซึ่งดูแลผู้ป่วยหนักที่เจ็บป่วยด้วยโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือดโดยเฉพาะ

หน่วยอภิบาลโรคหลอดเลือดสมอง - SCU (Stroke Care Unit) ซึ่งดูแลผู้ป่วยหนักที่เจ็บป่วยโรคทางหลอดเลือดสมอง จัดเป็นโรคทางระบบประสาทวิทยาทั่วไป นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลที่ได้รับการจัดตั้งขึ้น NCU ยัง (Neurosurgical Care Unit)

หน่วยอภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรม - SICU (Surgical Intensive Care Unit) อาจกล่าวได้ว่าเป็น "ห้องพักฟื้น" สำหรับผู้ป่วยที่พึ่งได้รับการผ่าตัดด้วยการดมยาสลบเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งมีความต้องการการดูแลเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด (โดยปกติจะให้พักอยู่ 1-2วัน)

หน่วยอภิบาลศัลยกรรมประสาท - NCU (Neurosurgical Care Unit) เป็นหน่วยงานเฉพาะ สำหรับดูแลผู้ป่วยหลังจากได้รับการผ่าตัดด้านสมองมาแล้ว เป็นการรวมเอาบทบาทหน้าที่ของ SCU (Stroke Care Unit)และ SICU (Surgical Intensive Care Unit) เข้าด้วยกัน

หน่วยอภิบาลทารกแรกเกิด - NICU (Neonatal Intensive Care Unit) สำหรับดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติ เช่น ภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด, เด็กทารกที่น้ำหนักแรกเกิดต่ำ, เด็กคลอดก่อนกำหนด โดยผู้ที่ดูแลจะประกอบไปด้วยทีมจากภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา

หน่วยอภิบาลผู้ป่วยโรคไต - KICU (Kidney Intensive Care Unit) มีไว้สำหรับดูแลผู้ป่วยโรคไตอย่างใกล้ชิด

หน่วยอภิบาลผู้ป่วยโรคจิต - Picu (Psychiatry Intensive Care Unit) เป็นหน่วยที่จัดตั้งขึ้นในโรงพยาบาลที่ให้บริการรักษาเกี่ยวกับจิตเวช โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็นการดูแลผู้ที่มีอาการทางจิตชนิดเฉียบพลัน และผู้ที่มีอาการทางจิตอันสืบเนื่องจากโรคทางจิต

หน่วยอภิบาลผู้ป่วยเด็ก - Picu (Pediatric Intensive Care Unit) เป็นหน่วยที่จัดตั้งขึ้นเฉพาะในโรงพยาบาลเด็ก ประกอบไปด้วยทีมจากกุมารเวชศาสต​​ร์ รองรับผู้ป่วยเด็กที่มีอากาหนัก, ผู้ป่วยเด็กเรื้อรัง รวมทั้งโรคหัวใจในผู้ป่วยเด็ก

หน่วยอภิบาลโรคทางเดินหายใจ - RCU (Respiratory Care Unit) มีไว้สำหรับผู้ป่วยโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจรุนแรง

หน่วยอภิบาลผู้ป่วยตั้งครรภ์ - MFICU (Maternal Fetal Intensive Care Unit) อาจจะเรียกหน่วยนี้ อีกอย่างได้ว่า ห้องคลอด ICU ซึ่งมีเพื่อรองรับหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มแท้งคุกคาม, การตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง, มีภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์

หน่วยอภิบาลการดูแลพิเศษ - HCU (High Care Unit) อธิบายให้ทำความเข้าใจได้ง่ายๆ คือ ICU ที่ลดความเข้มข้นในการดูแลลง เป็นหน่วยที่ดูแลผู้ป่วยชั่วคราวซึ่งอยู่ระหว่างย้ายออกจาก ICU ไปยังห้องผู้ป่วย หรือผู้ป่วยที่ต้องการการเฝ้าสังเกตอาการ