ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับวานร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
Plesiosaur ย้ายหน้า อันดับไพรเมต ไปยัง อันดับวานร: ชื่อสามัญ
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
[[Haplorrhini]]
[[Haplorrhini]]
}}
}}
'''อันดับลิง''' หรือ '''ไพรเมต''' ({{lang-en|primate}}) เป็นกลุ่ม[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ที่มีพัฒนาการสูงสุด อันได้แก่ สัตว์จำพวก[[ลิงลม]](lemurs) , [[ลิง]](monkeys) และ[[ลิงไม่มีหาง]](apes) ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย จึงกล่าวได้ว่าคุณสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ใน [[แอฟริกา]], ตอนล่างของ[[ทวีปเอเชีย]] อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่สายพันธุ์ ในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเมกซิโก
'''อันดับวานร''' หรือ '''ไพรเมต''' ({{lang-en|primate}}) เป็นกลุ่ม[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ที่มีพัฒนาการสูงสุด อันได้แก่ สัตว์จำพวก[[ลิงลม]](lemurs) , [[ลิง]](monkeys) และ[[ลิงไม่มีหาง]](apes) ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย จึงกล่าวได้ว่าคุณสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ใน [[แอฟริกา]], ตอนล่างของ[[ทวีปเอเชีย]] อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่สายพันธุ์ ในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเมกซิโก


== ลักษณะสำคัญ ==
== ลักษณะสำคัญ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:01, 18 ตุลาคม 2555

ไพรเมต
Papio anubis
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Primates
Linnaeus, ค.ศ. 1758
Subordo

Strepsirrhini
Haplorrhini

อันดับวานร หรือ ไพรเมต (อังกฤษ: primate) เป็นกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมที่มีพัฒนาการสูงสุด อันได้แก่ สัตว์จำพวกลิงลม(lemurs) , ลิง(monkeys) และลิงไม่มีหาง(apes) ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย จึงกล่าวได้ว่าคุณสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ใน แอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่สายพันธุ์ ในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเมกซิโก

ลักษณะสำคัญ

สมองเจริญดี ฟันบด (molar) มีลักษณะทู่ (bunodent) ระบบสายตาและมือมีวิวัฒนาการจนใช้การได้ดี ลักษณะเด่นคือ นิ้วหัวแม่มือสามารถพับขวางฝ่ามือได้ (opposable) ทำให้มีความสามารถพิเศษหลายอย่าง มีทั้งประเภทที่มีหางและไม่มีหาง

แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อยคือ

1.ลิงโลกเก่า (Old world monkey) เป็นลิงที่พบได้ทั่วโลกยกเว้นทวีปอเมริกา มีจมูกแคบ หางสั้น หรือถ้าหางยาวก็ไม่สามารถใช้หางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ มีกระพุ้งแก้มใหญ่ (Cheek pouch) มีนิ้ว 5 นิ้ว ฟัน 32 ซี่ มีแผ่นรองก้นเป็นสีแดงหรือสีน้ำเงิน ไม่มีไส้ติ่ง เช่น ลิงรีซัส ลิงแสม เป็นต้น

2.ลิงโลกใหม่ (New world monkey) เป็นลิงที่พบแถบทวีปอเมริกา มีจมูกแคบ หางยาว แข็งแรง สามารถใช้ห้อยโหนตามกิ่งไม้ได้ มีนิ้ว 4 นิ้ว ฟัน 36 ซี่ ก้นไม่มีแผ่นรองนั่ง เช่น ลิงมาโมเซท (Marmosets) ลิงหน้าขาว (Capuchin)

3.เอพ (Ape) เป็นพวกลิงใหญ่ไม่มีหาง กระพุ้งแก้มไม่ใหญ่ เดินตัวตรง แขนยาว พบได้ทั่วไปยกเว้นอเมริกา เช่น ชะนี อุรังอุตัง กอริลา ชิมแพนซี

เสริมความรู้

เป็นลิงไม่มีหางขนาดเล็กที่สุด มีลักษณะเป็นผัวเดียวเมียเดียว พบในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในโลกพบทั้งหมด 7 ชนิด ในประเทศไทยพบ 3 ชนิด

อุรังอุตังมาจากภาษามาเลเซียที่แปลว่า คนป่า พบเฉพาะในเกาะบอร์เนียว สุมาตรา จัดเป็นลิงขนาดใหญ่ ทำรังอยู่บนต้นไม้ กินพืชเป็นอาหารหลัก

เป็นลิงไม่มีหางที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สูงได้ถึง 6 ฟุต พบในแถวทวีปแอฟริกา อยู่ลักษณะเป็นฝูง กินพืชเป็นอาหาร

เป็นลิงไม่มีหางที่ฉลาดที่สุด เนื่องจากขนาดสมองใหญ่กว่าลิงชนิดอื่นๆ ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้น หูใหญ่และกาง พบในตอนกลางของทวีปแอฟริกา

อ้างอิง

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA