ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปลูกถ่ายอวัยวะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Somjot (คุย | ส่วนร่วม)
แปลเพิ่ม
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือ[[ภาวะสมองตาย|สมองตาย]]แล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย <ref>See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to [http://apps.who.int/gb/ebwha/pdf_files/A62/A62_15-en.pdf World Health Organization, 2008.]</ref><ref>Further sources in the [http://www.who.int/ethics/en/eth_bibliography_transplantation.pdf Bibliography on Ethics of the WHO].</ref> ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ <ref>See [http://www.who.int/bulletin/volumes/82/9/feature0904/en/index.html Organ trafficking and transplantation pose new challenges].</ref>
ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือ[[ภาวะสมองตาย|สมองตาย]]แล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย <ref>See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to [http://apps.who.int/gb/ebwha/pdf_files/A62/A62_15-en.pdf World Health Organization, 2008.]</ref><ref>Further sources in the [http://www.who.int/ethics/en/eth_bibliography_transplantation.pdf Bibliography on Ethics of the WHO].</ref> ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ <ref>See [http://www.who.int/bulletin/volumes/82/9/feature0904/en/index.html Organ trafficking and transplantation pose new challenges].</ref>

การปลูกถ่ายอวัยวะหรือเนื้อเยื่อเป็นหนึ่งในสาขาวิชาการแพทย์สมัยใหม่ที่ซับซ้อนและท้าทาย กุญแจสำคัญคือปัญหาการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะนั้นเนื่อจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันซึ่งอาจนำไปสู่การปลูกถ่ายที่ล้มเหลวและจำเป็นต้องนำอวัยวะนั้นออกจากผู้รับโดยทันที การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะนั้นสามารถลดได้โดย[[การจัดกลุ่มสายเชื้อ]] (serotyping) เพื่อหาผู้บริจาคและผู้รับที่เหมาะสมที่สุดและโดยการใช้[[ยากดภูมิคุ้มกัน]] (immunosuppressant drug)


== การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย ==
== การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย ==
บรรทัด 19: บรรทัด 21:
#ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]]
#ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร [[โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์]]
#สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่[[งานกาชาด]] บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ
#สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่[[งานกาชาด]] บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ

== ความเป็นมา ==
===Timeline of successful transplants===
* 1905: First successful [[cornea transplant]] by [[Eduard Zirm]] ([[Palacký University of Olomouc#Medicine and Dentistry|Olomouc Eye Clinic]], now [[Czech Republic]])<ref>[http://www.restoresight.org/general/anniversary.htm Restore Sight Organization website]</ref>
* 1954: First successful [[kidney transplant]] by [[J. Hartwell Harrison]] and [[Joseph Murray]] (Boston, U.S.A.)
* 1966: First successful [[pancreas transplant]] by Richard Lillehei and William Kelly (Minnesota, U.S.A.)
* 1967: First successful [[liver transplant]] by Thomas Starzl (Denver, U.S.A.)
* 1967: First successful [[heart transplant]] by Christian Barnard (Cape Town, South Africa)
* 1981: First successful heart/lung transplant by Bruce Reitz (Stanford, U.S.A.)
* 1983: First successful lung lobe transplant by Joel Cooper (Toronto, Canada)
* 1986: First successful double-lung transplant (Ann Harrison) by Joel Cooper (Toronto, Canada)
* 1995: First successful laparoscopic live-donor [[nephrectomy]] by Lloyd Ratner and Louis Kavoussi (Baltimore, U.S.A.)
* 1997 First successful allogeneic vascularized transplantation of a fresh and perfused human knee joint by [[Gunther O. Hofmann|G.O. Hofmann]]<ref>[http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/9061165 The first transplantation of a human knee joint]</ref>
* 1998: First successful live-donor partial [[pancreas transplant]] by David Sutherland (Minnesota, U.S.A.)
* 1998: First successful [[hand transplant]] (France)
* 1999: First successful Tissue Engineered Bladder transplanted by [[Anthony Atala]] (Boston Children's Hospital, U.S.A.)<ref>[http://www1.wfubmc.edu/News/NewsARticle.htm?ArticleID=1821 Wake Forest Physician Reports First Human Recipients of Laboratory Grown Organs]</ref>
* 2005: First successful partial [[face transplant]] (France)
* 2006: First [[jaw]] transplant to combine donor jaw with [[bone marrow]] from the patient, by [[Eric M. Genden]] ([[Mount Sinai Hospital, New York]])<ref>[http://www.nydailynews.com/news/2006/06/01/2006-06-01_jawdroppin_op_a_success_ny_transplant_on_print.html Daily News – "Jaw-Droppin' Op a Success"]</ref>
* 2008: First successful complete full double arm transplant by Edgar Biemer, Christoph Höhnke and Manfred Stangl (Technical University of Munich, Germany)<ref>{{cite news| url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/7537897.stm | work=BBC News | title=Farmer has double arm transplant | date=August 1, 2008}}</ref>
* 2008: First baby born from [[transplanted ovary]].<ref>[http://www.guardian.co.uk/science/2008/nov/09/health Woman to give birth after first ovary transplant pregnancy] by James Randerson, science correspondent. guardian.co.uk, Sunday November 9, 2008 12.52 GMT.</ref>
* 2008: First transplant of a [[Vertebrate trachea|human windpipe]] using a patient’s own stem cells, by [[Paolo Macchiarini]] (Barcelona, Spain)<ref>{{cite journal |author=Macchiarini P, Jungebluth P, Go T, ''et al.'' |title=Clinical transplantation of a tissue-engineered airway |journal=Lancet |volume=372 |issue=9655 |pages=2023–30 |year=2008 |month=December |pmid=19022496 |doi=10.1016/S0140-6736(08)61598-6}}</ref>
* 2008: First successful transplantation of near total area (80%) of [[face transplant|face]], (including palate, nose, cheeks, and eyelid by [[Maria Siemionow]] (Cleveland, USA)
* 2010: First full facial transplant, by Dr Joan Pere Barret and team (Hospital Universitari Vall d'Hebron on July 26, 2010 in Barcelona, Spain.)<ref>{{cite news| url=http://www.bbc.co.uk/news/health-10765005 | work=BBC News | title=Full face transplant man reveals his new look on TV | date=July 26, 2010}}</ref>
* 2011: First double leg transplant, by Dr Cavadas and team (Valencia's Hospital La Fe, Spain).<ref>{{cite news |url=http://www.medicalnewstoday.com/articles/230875.php |title=World's First Double-Leg Transplant Takes Place In Spain |author=Catharine Paddock, PhD |work=Medical News Today |date=July 12, 2010 }}</ref>

== ชนิดของการปลูกถ่าย ==
===Autograft===
{{main|Autotransplantation}}

===Allograft and allotransplantation===
{{main|Allotransplantation}}

====Isograft====

===Xenograft and xenotransplantation===
{{Main|Xenotransplantation}}

===Split transplants===

===Domino transplants===

== อวัยวะและเนื้อเยื้อหลักที่สามารถปลูกถ่ายได้ ==

== การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศต่างๆ ==
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:20, 26 ธันวาคม 2554

การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ transplantation) เป็นการย้ายอวัยวะจากร่างหนึ่งไปสู่อีกร่างหนึ่ง หรือ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในผู้ป่วยคนเดียวกัน เพื่อแทนที่อวัยวะที่เสียหายหรือขาดไป การอุบัติขึ้นของ regenerative medicine ทำให้นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรสามารถสร้างหรือปลูกอวัยวะจากเซลล์ของคนไข้เอง (เซลล์ต้นกำเนิด หรือเซลล์ที่แยกมาจากอวัยวะที่เสื่อม) การปลูกถ่ายอวัยวะและ/หรือเนื้อเยื่อที่ถูกปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเองเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (autotranplantation) การเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชิวิตชนิดเดียวกันเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (allotranplantation) การปลูกถ่ายด้วยอวัยวะจากสัตว์ชนิดอื่นเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (xenotransplantation)

ในปัจจุบันอวัยวะที่สามารถปลูกถ่ายได้ ได้แก่ หัวใจ ไต ตา ตับ ปอด ตับอ่อน ลำไส้เล็ก และ ต่อมไทมัส เนื้อเยื่อที่ปลูกถ่ายได้ ได้แก่ กระดูก เอ็น กระจกตา ผิวหนัง ลิ้นหัวใจ และหลอดเลือดดำ ทั่วโลกมีการปลูกถ่ายไตมากที่สุด ตามมาด้วยตับและหัวใจ ส่วนเนื้อเยื่อ ได้แก่ กระจกตาและเนื้อเยื่อกระดูกและเอ็น อวัยวะบางอย่างเช่นสมองไม่สามารถปลูกถ่ายได้

ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือสมองตายแล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย [1][2] ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ [3]

การปลูกถ่ายอวัยวะหรือเนื้อเยื่อเป็นหนึ่งในสาขาวิชาการแพทย์สมัยใหม่ที่ซับซ้อนและท้าทาย กุญแจสำคัญคือปัญหาการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะนั้นเนื่อจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันซึ่งอาจนำไปสู่การปลูกถ่ายที่ล้มเหลวและจำเป็นต้องนำอวัยวะนั้นออกจากผู้รับโดยทันที การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะนั้นสามารถลดได้โดยการจัดกลุ่มสายเชื้อ (serotyping) เพื่อหาผู้บริจาคและผู้รับที่เหมาะสมที่สุดและโดยการใช้ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressant drug)

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย

การปลูกถ่ายและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายบังคับ[4] แต่ได้มีการกำหนดหลักการเบื้องต้นโดยแพทยสภา[5]และสภากาชาดไทย[6][7]

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย[8]มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 โดยปลูกถ่ายไต และ ปลูกถ่ายตับ และหัวใจ ได้ในปี พ.ศ. 2530 ปัจจุบัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2553) สามารถปลูกถ่ายอวัยวะต่างได้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ ลิ้นหัวใจ ปอด และตับอ่อน ผลการรักษาโดยการปลูกถ่ายอวัยวะใน 1 ปีแรก อวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่ายได้แก่ ตับ หัวใจและปอด หัวใจ ตับ และไต สามารถทำงานได้ดีในระดับ 45% 75% 70-80% 80% และ 85% ตามลำดับ

ตามสถิติปี พ.ศ. 2553[9] จำนวนผู้ลงทะเบียนรับอวัยวะมีมากถึง 2,717 คน ในขณะที่สามรถปลูกถ่ายได้เพียง 215 คน อวัยวะจึงยังขาดแคลนอีกมาก มีเหตุผลหลายประการที่ไม่มีอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย เช่น ประเด็นความเข้าใจของญาติผู้บริจาค ประเด็นการปฏิสัมพันธ์ของแพทย์กับญาติผู้บริจาค ประเด็นเทคนิคทางการแพทย์ และประเด็นทางกฎหมาย เป็นต้น จึงต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ให้ญาติและผู้ที่ต้องการบริจาค การออกกฎหมายรองรับ การใช้อวัยวะจากนักโทษประหาร เป็นต้น

ในการติดต่อบริจาคอวัยวะนั้น ผู้บริจาคอวัยวะควรเป็นบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคติดเชื้อ และโรคมะเร็ง สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย สายด่วน 1666 หรือ หมายเลข 0 2256 4045-6 หรือติดต่อด้วยตนเองที่สถานที่ต่อไปนี้

  1. สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัด หรือ สำนักงานกิ่งกาชาด ทุกจังหวัด
  2. เครือข่ายศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลสิงห์บุรี โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และ โรงพยาบาลขอนแก่น
  3. งานเปลี่ยนอวัยวะ โรงพยาบาลศิริราช
  4. ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
  5. สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่งานกาชาด บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ

ความเป็นมา

Timeline of successful transplants

  • 1905: First successful cornea transplant by Eduard Zirm (Olomouc Eye Clinic, now Czech Republic)[10]
  • 1954: First successful kidney transplant by J. Hartwell Harrison and Joseph Murray (Boston, U.S.A.)
  • 1966: First successful pancreas transplant by Richard Lillehei and William Kelly (Minnesota, U.S.A.)
  • 1967: First successful liver transplant by Thomas Starzl (Denver, U.S.A.)
  • 1967: First successful heart transplant by Christian Barnard (Cape Town, South Africa)
  • 1981: First successful heart/lung transplant by Bruce Reitz (Stanford, U.S.A.)
  • 1983: First successful lung lobe transplant by Joel Cooper (Toronto, Canada)
  • 1986: First successful double-lung transplant (Ann Harrison) by Joel Cooper (Toronto, Canada)
  • 1995: First successful laparoscopic live-donor nephrectomy by Lloyd Ratner and Louis Kavoussi (Baltimore, U.S.A.)
  • 1997 First successful allogeneic vascularized transplantation of a fresh and perfused human knee joint by G.O. Hofmann[11]
  • 1998: First successful live-donor partial pancreas transplant by David Sutherland (Minnesota, U.S.A.)
  • 1998: First successful hand transplant (France)
  • 1999: First successful Tissue Engineered Bladder transplanted by Anthony Atala (Boston Children's Hospital, U.S.A.)[12]
  • 2005: First successful partial face transplant (France)
  • 2006: First jaw transplant to combine donor jaw with bone marrow from the patient, by Eric M. Genden (Mount Sinai Hospital, New York)[13]
  • 2008: First successful complete full double arm transplant by Edgar Biemer, Christoph Höhnke and Manfred Stangl (Technical University of Munich, Germany)[14]
  • 2008: First baby born from transplanted ovary.[15]
  • 2008: First transplant of a human windpipe using a patient’s own stem cells, by Paolo Macchiarini (Barcelona, Spain)[16]
  • 2008: First successful transplantation of near total area (80%) of face, (including palate, nose, cheeks, and eyelid by Maria Siemionow (Cleveland, USA)
  • 2010: First full facial transplant, by Dr Joan Pere Barret and team (Hospital Universitari Vall d'Hebron on July 26, 2010 in Barcelona, Spain.)[17]
  • 2011: First double leg transplant, by Dr Cavadas and team (Valencia's Hospital La Fe, Spain).[18]

ชนิดของการปลูกถ่าย

Autograft

Allograft and allotransplantation

Isograft

Xenograft and xenotransplantation

Split transplants

Domino transplants

อวัยวะและเนื้อเยื้อหลักที่สามารถปลูกถ่ายได้

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศต่างๆ

อ้างอิง

  1. See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to World Health Organization, 2008.
  2. Further sources in the Bibliography on Ethics of the WHO.
  3. See Organ trafficking and transplantation pose new challenges.
  4. นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์, ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา, วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน 2553 การปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยOK Nation Blog
  5. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 84 ง 9 กรกฎาคม 2553 หน้า 106-107 ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2553
  6. ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย ระเบียบสภากาชาดไทยว่าด้วยศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย พ.ศ. 2545
  7. [ http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/announces.pdf ประกาศศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]
  8. คู่มือการปลูกถ่ายอวัยวะ, ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ, สภากาชาดไทย
  9. รายงานประจำปี พ.ศ. 2553 ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย
  10. Restore Sight Organization website
  11. The first transplantation of a human knee joint
  12. Wake Forest Physician Reports First Human Recipients of Laboratory Grown Organs
  13. Daily News – "Jaw-Droppin' Op a Success"
  14. "Farmer has double arm transplant". BBC News. August 1, 2008.
  15. Woman to give birth after first ovary transplant pregnancy by James Randerson, science correspondent. guardian.co.uk, Sunday November 9, 2008 12.52 GMT.
  16. Macchiarini P, Jungebluth P, Go T; และคณะ (2008). "Clinical transplantation of a tissue-engineered airway". Lancet. 372 (9655): 2023–30. doi:10.1016/S0140-6736(08)61598-6. PMID 19022496. {{cite journal}}: ใช้ et al. อย่างชัดเจน ใน |author= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  17. "Full face transplant man reveals his new look on TV". BBC News. July 26, 2010.
  18. Catharine Paddock, PhD (July 12, 2010). "World's First Double-Leg Transplant Takes Place In Spain". Medical News Today.

แหล่งข้อมูลอื่น