ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรณีพิพาทอินโดจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ลอก
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
==กำลังรบของทั้งสองฝ่าย==
==กำลังรบของทั้งสองฝ่าย==
===ฝ่ายไทย===
===ฝ่ายไทย===
การรบครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกของ[[กองทัพไทย]]ที่ทำการรบพร้อมกันทั้ง 3 เหล่าทัพ คือ [[กองทัพบกไทย|กองทัพบก]], [[ราชนาวีไทย|กองทัพเรือ]] และ[[กองทัพอากาศไทย|กองทัพอากาศ]]<ref>[[บัญชร ชวาลศิลป์]] พล.อ., รายการพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง ทาง F.M. 101 MHz [[วันศุกร์]]ที่ [[16 กันยายน]] [[พ.ศ. 2554]]</ref>
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:38, 16 กันยายน 2554

กรณีพิพาทอินโดจีน

หลวงวิจิตรวาทการประกาศสงครามผ่านวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
วันที่28 พฤศจิกายน 2483 - 9 พฤษภาคม 2484
สถานที่
ผล ไม่มีข้อยุติ[1]; ญี่ปุ่นเข้ามาเป็นตัวกลางเจรจาหยุดยิง
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ไทยได้ดินแดนที่เป็นข้อพิพาทกลับมาอยู่ในความปกครอง 4 จังหวัด
คู่สงคราม
ไทย วิชีฝรั่งเศส
อินโดจีนฝรั่งเศส
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
แปลก พิบูลสงคราม ฌอง เดอกูซ์
กำลัง
• กำลังพล 60,000 นาย
รถถัง 134 คัน
• เครื่องบินรบ ~140 ลำ[2]
• เรือรบ 18 ลำ
• กำลังพล 50,000 นาย
รถถัง 20 คัน
• เครื่องบินรบ ~100 ลำ
• เรือรบจำนวนหนึ่ง
ความสูญเสีย
• ทหารเสียชีวิต 160 นาย
• บาดเจ็บ 307 นาย
• ตกเป็นเชลย 21 นาย
• เสียอากาศยาน 8-13 ลำ
• ทหารเสียชีวิตหรือบาดเจ็บ 321 นาย
• สูญหาย 178 นาย
• ตกเป็นเชลย 222 นาย
• เสียอากาศยาน 22 ลำ

กรณีพิพาทอินโดจีน หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ สงครามอินโดจีน (ในภาษาอังกฤษ รู้จักกันในชื่อ "สงครามฝรั่งเศส-ไทย" หรือ "French-Thai War") เป็นการรบกันระหว่างประเทศไทยกับรัฐบาลวิชีฝรั่งเศส ช่วง 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483 - 28 มกราคม พ.ศ. 2484 จากเหตุความขัดแย้งในการอ้างสิทธิเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสบางส่วน คือ ลาว และกัมพูชา ซึ่งเคยเป็นประเทศราชของไทยมาก่อน มีเหตุการณ์สำคัญเช่น ยุทธนาวีเกาะช้าง

ภายหลังเมื่อสิ้นสุดกรณีพิพาท โดยมีญี่ปุ่นเข้ามาเป็นตัวกลางในการเจรจาสงบศึก ไทยกับฝรั่งเศส ลงนามในอนุสัญญาสันติภาพที่กรุงโตเกียว เมื่อ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 จึงทำให้ไทยได้ดินแดนดังกล่าวกลับมาบางส่วน และจัดตั้งเป็นจังหวัดใหม่ขึ้น 4 จังหวัด คือ จังหวัดนครจัมปาศักดิ์ จังหวัดลานช้าง จังหวัดพิบูลสงครามและจังหวัดพระตะบอง รวมเป็นพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 24,039 ตารางกิโลเมตร ซึ่งจังหวัดดังกล่าวนี้ ไทยได้ปกครองเรื่อยมาจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 2488

อนุสาวรีย์ที่สร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ครั้งนี้ก็คือ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

เบื้องหลัง


การเจรจาปรับปรุงเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างไทยและฝรั่งเศส


กำลังรบของทั้งสองฝ่าย

ฝ่ายไทย

การรบครั้งนี้ถือเป็นครั้งแรกของกองทัพไทยที่ทำการรบพร้อมกันทั้ง 3 เหล่าทัพ คือ กองทัพบก, กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ[3]

ฝ่ายฝรั่งเศสและอินโดจีนฝรั่งเศส


การปะทะกันตามแนวชายแดนและการรุกล้ำเขตแดน


การโจมตีทางอากาศที่นครพนม

การใช้กำลังทางทหารเข้าสู้รบของทั้งสองฝ่าย

การรบทางอากาศ

การรบทางภาคพื้นดิน

การรบทางทะเล

บทความหลัก ดูที่:การรบที่เกาะช้าง


ความสูญเสียจากกรณีพิพาทอินโดจีน

ฝ่ายไทย

ฝ่ายฝรั่งเศส


ญี่ปุ่นเข้ามาเป็นตัวกลางเจรจาหยุดยิง


ไทยรับมอบดินแดนคืนจากอินโดจีนฝรั่งเศส


ไทยคืนดินแดนให้แก่ฝรั่งเศส



อ้างอิง

  1. Tucker, p. 552
  2. Royal Thai Air Force. (1976) The History of the Air Force in the Conflict with French Indochina. Bangkok.
  3. บัญชร ชวาลศิลป์ พล.อ., รายการพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง ทาง F.M. 101 MHz วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554

แหล่งข้อมูลอื่น