ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hr:Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ศิลปิน
{{กล่องข้อมูล ศิลปิน
| สี = #191970
| สี = #191970
| ชื่อ = เอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริง
| ชื่อ = เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง
| ภาพ = Vigee-Lebrun1782.jpg
| ภาพ = Vigee-Lebrun1782.jpg
| คำบรรยายภาพ = ภาพเหมือนตนเอง หลัง ค.ศ. 1782
| คำบรรยายภาพ = ภาพเหมือนตนเอง หลัง ค.ศ. 1782
| ชื่อเมื่อเกิด = Marie Élisabeth-Louise Vigée
| ชื่อเมื่อเกิด = Marie Élisabeth-Louise Vigée
| ชื่ออื่น =
| ชื่ออื่น = มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ
| วันเกิด = [[16 เมษายน]] [[ค.ศ. 1755]]
| วันเกิด = [[16 เมษายน]] [[ค.ศ. 1755]]
| ที่เกิด = [[ปารีส]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
| ที่เกิด = [[ปารีส]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}
}}


'''เอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริง''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: '''Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun''' หรือ '''Marie Élisabeth-Louise Vigée''') ([[16 เมษายน]] [[ค.ศ. 1755]] - [[30 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1842]]) เป็นจิตรกรสมัย[[ศิลปะโรโคโค|โรโคโค]]ชาว[[ฝรั่งเศส]]ของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียน[[จิตรกรรมภาพเหมือน]] เอลิซาเบธแสดงความสนใจใน[[ศิลปะฟื้นฟูคลาสสิก]]แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลิซาเบธจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้าง[[จิตรกรรมประวัติศาสตร์]]แบบคลาสสิก
'''เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง''' ({{lang-fr|Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun}}) หรือ '''มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ''' ({{lang|fr|Marie Élisabeth-Louise Vigée}}; [[16 เมษายน]] [[ค.ศ. 1755]] - [[30 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1842]]) เป็นจิตรกรสมัย[[ศิลปะโรโคโค|โรโคโค]]ชาว[[ฝรั่งเศส]]ของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียน[[จิตรกรรมภาพเหมือน]] เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจใน[[ศิลปะฟื้นฟูคลาสสิก]]แต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้าง[[จิตรกรรมประวัติศาสตร์]]แบบคลาสสิก


== ชีวิตเบื้องต้น ==
== ชีวิตเบื้องต้น ==
เอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริงเกิดเมื่อวันที่ [[16 เมษายน]] [[ค.ศ. 1755]] ที่เมือง[[ปารีส]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] โดยมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า '''มารี เอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี''' ลูกสาวของจิตรกรภาพเหมือนและภาพบน[[พัด]] หลุยส์ วิฌี ผู้ที่เอลิซาเบธได้รับการศึกษาทางศิลปะเมื่อเริ่มแรก มารดาของเอลิซาเบธเป็นช่างแต่งผม<ref name="CyberPathways Art World">CyberPathways Art World</ref> เอลิซาเบธถูกส่งไปอยู่กับญาติใน[[เอเปร์นอง]] (Epernon) จนอายุ 6 ปีเมื่อเอลิซาเบธเข้าคอนแวนต์และอยู่ที่นั่นอีก 5 ปี พ่อของเอลิซาเบธเสียชีวิตเมื่อเอลิซาเบธอายุได้ 12 ปี ในปี ค.ศ. 1768 แม่ของเอลิซาเบธแต่งงานกับช่างอัญมณี, ฌาคส์ ฟรองซัวส์ เลอ เซเวร์ หลังจากนั้นครอบครัวก็ย้ายไปถนนแซงต์โอเนอร์ไม่ไกลจาก[[พระราชวังหลวงแห่งปารีส]] (Palais Royal) ระหว่างนี้เอลิซาเบธก็ได้รับการศึกษาแนะนำจาก[[กาเบรียล ฟรองซัวส์ โดแยง]] (Gabriel François Doyen), [[ฌอง แบ็พทิสต์ กรุซ]] (Jean-Baptiste Greuze) และ[[โจเซฟ เวร์เนท์]] (Joseph Vernet) และจิตรกรสำคัญคนอื่นๆ ในยุคนั้น
เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเกิดเมื่อวันที่ [[16 เมษายน]] [[ค.ศ. 1755]] ที่เมือง[[ปารีส]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] โดยมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า '''มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ''' ลูกสาวของจิตรกรภาพเหมือนและภาพบน[[พัด]] หลุยส์ วีเฌ ผู้ที่เอลีซาแบ็ตได้รับการศึกษาทางศิลปะเมื่อเริ่มแรก มารดาของเอลีซาแบ็ตเป็นช่างแต่งผม<ref name="CyberPathways Art World">CyberPathways Art World</ref> เอลีซาแบ็ตถูกส่งไปอยู่กับญาติใน[[เอเปร์นอง]] (Epernon) จนอายุ 6 ปีเมื่อเอลีซาแบ็ตเข้าคอนแวนต์และอยู่ที่นั่นอีก 5 ปี พ่อของเอลีซาแบ็ตเสียชีวิตเมื่อเอลีซาแบ็ตอายุได้ 12 ปี ในปี ค.ศ. 1768 แม่ของเอลีซาแบ็ตแต่งงานกับช่างอัญมณี, ฌาคส์ ฟรองซัวส์ เลอ เซเวร์ หลังจากนั้นครอบครัวก็ย้ายไปถนนแซงต์โอเนอร์ไม่ไกลจาก[[พระราชวังหลวงแห่งปารีส]] (Palais Royal) ระหว่างนี้เอลีซาแบ็ตก็ได้รับการศึกษาแนะนำจาก[[กาเบรียล ฟร็องซัว ดัวย็อง]] (Gabriel François Doyen), [[ฌ็อง-บาติสต์ เกริซ]] (Jean-Baptiste Greuze) และ[[โฌแซ็ฟ แวร์แน]] (Joseph Vernet) และจิตรกรสำคัญคนอื่น ๆ ในยุคนั้น


เมื่ออยู่ในวัยรุ่นเอลิซาเบธก็เริ่มเขียนภาพเหมือนเป็นอาชีพ หลังจากห้องเขียนภาพถูกปิดเพราะไม่มีใบอนุญาตเอลิซาเบธก็สมัครเป็นสมาชิกของ[[สถาบันเซนต์ลูค]]ที่ไม่เต็มใจแสดงภาพเขียนของเอลิซาเบธในห้องแสดงภาพของสถาบัน แต่เอลิซาเบธก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1774
เมื่ออยู่ในวัยรุ่น เอลีซาแบ็ตก็เริ่มเขียนภาพเหมือนเป็นอาชีพ หลังจากห้องเขียนภาพถูกปิดเพราะไม่มีใบอนุญาต เอลีซาแบ็ตก็สมัครเป็นสมาชิกของ[[สถาบันเซนต์ลูค]]ที่ไม่เต็มใจแสดงภาพเขียนของเอลีซาแบ็ตในห้องแสดงภาพของสถาบัน แต่เอลีซาแบ็ตก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1774


== มารี อองตัวเนต ==
== มารี อองตัวเนต ==
[[ไฟล์:MA-Lebrun.jpg|left|thumb|“ภาพเหมือนของ[[มารี อองตัวเนต]]”, ค.ศ. 1783 ที่บ่งว่าเขียนโดยเอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริง]]
[[ไฟล์:MA-Lebrun.jpg|left|thumb|“ภาพเหมือนของ[[มารี อองตัวเนต]]”, ค.ศ. 1783 ที่บ่งว่าเขียนโดยเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง]]
เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1775 เอลิซาเบธแต่งงานกับ ฌอง-แบ็พทิสต์-ปิแยร์ เลอเบริง จิตรกรและผู้ค้าขายศิลปะ เอลิซาเบธเขียนภาพเหมือนของเจ้านายคนสำคัญๆ ของสมัยนั้นหลายพระองค์และเมื่อมีชื่อเสียงมากขึ้นเอลิซาเบธก็ได้รับเชิญจากสำนัก[[พระราชวังแวร์ซายส์]]ให้เขียนภาพ[[มารี อองตัวเนต สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส]]
เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1775 เอลีซาแบ็ตแต่งงานกับฌ็อง-บาติสต์-ปีแยร์ เลอเบริง จิตรกรและผู้ค้าขายศิลปะ เอลีซาแบ็ตเขียนภาพเหมือนของเจ้านายคนสำคัญ ๆ ของสมัยนั้นหลายพระองค์และเมื่อมีชื่อเสียงมากขึ้น เอลีซาแบ็ตก็ได้รับเชิญจากสำนัก[[พระราชวังแวร์ซายส์]]ให้เขียนภาพ[[มารี อองตัวเนต สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส]]


มารี อองตัวเนตทรงพอพระทัยในฝีมือจนทรงให้เอลิซาเบธเขียนภาพเหมือนของพระองค์และพระราชโอรสธิดาของพระองค์และพระญาติพระวงศ์ต่อมาอีกหลายปี เอลิซาเบธคลอดลูกสาวเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1780 ชื่อฌานน์ ฌูลี หลุยส์ ผู้ที่เอลิซาเบธเรียกว่า “ฌูลี”
มารี อองตัวเนตทรงพอพระทัยในฝีมือจนทรงให้เอลีซาแบ็ตเขียนภาพเหมือนของพระองค์และพระราชโอรสธิดาของพระองค์และพระญาติพระวงศ์ต่อมาอีกหลายปี เอลีซาแบ็ตคลอดลูกสาวเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1780 ชื่อฌานน์ ฌูลี หลุยส์ ผู้ที่เอลีซาแบ็ตเรียกว่า “ฌูลี”


[[ไฟล์:Calonne by lebrun.jpg|thumb|right| “ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ เดอ คาลอง” โดยเอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริง]]
[[ไฟล์:Calonne by lebrun.jpg|thumb|right| “ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ เดอ คาลอง” โดยเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง]]


ในปี ค.ศ. 1781 เอลิซาเบธและสามีก็ไปเดินทางไปเที่ยวบริเวณ[[ฟลานเดอร์ส]] และ[[เนเธอร์แลนด์]]ที่เอลิซาเบธได้เห็นงานเขียนต่างๆ ของ[[จิตรกรรมเฟล็มมิช|จิตรกรเฟล็มมิช]]คนสำคัญๆ ที่ทำให้ได้รับแรงบันดาลใจในการทดลองการเขียนวิธีใหม่ ระหว่างการเดินทางเอลิซาเบธก็มีโอกาสเขียนภาพเหมือนของเจ้านายที่นั่นรวมทั้ง[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งเนเธอแลนด์|เจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์]]
ในปี ค.ศ. 1781 เอลีซาแบ็ตและสามีก็ไปเดินทางไปเที่ยวบริเวณ[[ฟลานเดอร์ส]]และ[[เนเธอร์แลนด์]]ที่เอลีซาแบ็ตได้เห็นงานเขียนต่าง ๆ ของ[[จิตรกรรมเฟล็มมิช|จิตรกรเฟล็มมิช]]คนสำคัญ ๆ ที่ทำให้ได้รับแรงบันดาลใจในการทดลองการเขียนวิธีใหม่ ระหว่างการเดินทางเอลีซาแบ็ตก็มีโอกาสเขียนภาพเหมือนของเจ้านายที่นั่นรวมทั้ง[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งเนเธอแลนด์|เจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์]]


เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1783 เอลิซาเบธก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกของ “[[ราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรม]]” ในฐานะจิตรกรภาพอุปมานิทัศน์ประวัติศาสตร์ [[อเดลเลด ลาบิเย-กุยาร์ด]] (Adélaïde Labille-Guiard]]ก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกในวันเดียวกัน
เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1783 เอลีซาแบ็ตก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกของ “[[ราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรม]]” ในฐานะจิตรกรภาพอุปมานิทัศน์ประวัติศาสตร์ [[อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์]] (Adélaïde Labille-Guiard) ก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกในวันเดียวกัน


การยอมรับของเอลิซาเบธเข้าเป็นสมาชิกได้รับการต่อต้านเพราะสามีเป็นผู้ค้าศิลปะ แต่ในที่สุดมติของสมาคมก็ถูกเปลี่ยนโดยพระราชโองการของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] โดยมีมารี อองตัวเนตหนุนหลังพระสวามีในนามของเอลิซาเบธ การยอมรับสตรีสองคนเข้าเป็นสมาชิกของสถาบันในวันเดียวกันเป็นการเปรียบเทียบงานของสตรีสองคนแทนที่จะเปรียบคุณค่าของงานของเอลิซาเบธกับงานของสมาชิกของสมาคมที่มีอยู่แล้วซึ่งเป็นผู้ชายทั้งหมด
การยอมรับของเอลีซาแบ็ตเข้าเป็นสมาชิกได้รับการต่อต้านเพราะสามีเป็นผู้ค้าศิลปะ แต่ในที่สุดมติของสมาคมก็ถูกเปลี่ยนโดยพระราชโองการของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]] โดยมีมารี อองตัวเนตหนุนหลังพระสวามีในนามของเอลีซาแบ็ต การยอมรับสตรีสองคนเข้าเป็นสมาชิกของสถาบันในวันเดียวกันเป็นการเปรียบเทียบงานของสตรีสองคนแทนที่จะเปรียบคุณค่าของงานของเอลีซาแบ็ตกับงานของสมาชิกของสมาคมที่มีอยู่แล้วซึ่งเป็นผู้ชายทั้งหมด


ในปี ค.ศ. 1789 [[อเล็กซานเดอร์ คูชาสกี]] (Alexander Kucharsky) ก็ได้เป็นช่างเขียนประจำราชสำนักต่อจากเอลิซาเบธ
ในปี ค.ศ. 1789 [[อเล็กซานเดอร์ คูชาสกี]] (Alexander Kucharsky) ก็ได้เป็นช่างเขียนประจำราชสำนักต่อจากเอลีซาแบ็ต


== การปฏิวัติฝรั่งเศส ==
== การปฏิวัติฝรั่งเศส ==
หลังจากที่พระราชวงศ์ถูกจับระหว่าง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] เอลิซาเบธก็หลบหนีจากฝรั่งเศสกับลูกสาว เอลิซาเบธไปทำงานอยู่ใน[[อิตาลี]], [[ออสเตรีย]] และ[[รัสเซีย]] ใน[[กรุงโรม]]ภาพเขียนของเอลิซาเบธได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง และทำให้เอลิซาเบธได้รับเข้าเป็นสมาชิกของ[[สถาบันเซนต์ลูค]]แห่งโรม
หลังจากที่พระราชวงศ์ถูกจับระหว่าง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] เอลีซาแบ็ตก็หลบหนีจากฝรั่งเศสกับลูกสาว เอลีซาแบ็ตไปทำงานอยู่ใน[[อิตาลี]] [[ออสเตรีย]] และ[[รัสเซีย]] ใน[[กรุงโรม]] ภาพเขียนของเอลีซาแบ็ตได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง และทำให้เอลีซาแบ็ตได้รับเข้าเป็นสมาชิกของ[[สถาบันเซนต์ลูค]]แห่งโรม


ในรัสเซียเอลิซาเบธเข้าเขียนภาพในราชสำนักของ[[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย|พระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย]] ขณะที่พำนักอยู่ที่นั่นเอลิซาเบธก็ได้เข้าเป็นสมาชิกของ “สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก” ส่วนฌูจีแต่งงานกับขุนนางรัสเซีย<ref name="CyberPathways Art World"/>
ในรัสเซียเอลีซาแบ็ตเข้าเขียนภาพในราชสำนักของ[[สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย|พระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย]] ขณะที่พำนักอยู่ที่นั่นเอลีซาแบ็ตก็ได้เข้าเป็นสมาชิกของ “สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก” ส่วนฌูจีแต่งงานกับขุนนางรัสเซีย<ref name="CyberPathways Art World"/>


เอลิซาเบธได้รับการต้อนรับกลับฝรั่งเศสระหว่างรัชสมัยของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]] งานของเอลิซาเบธเป็นที่ต้องการกันในหมู่ชนชั้นสูงไปทั่วยุโรป เอลิซาเบธเดินทางไป[[อังกฤษ]]เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 และได้เขียนภาพเหมือนของขุนนางหลายคนรวมทั้ง[[จอร์จ กอร์ดอน ไบรอน บารอนไบรอนที่ 6]] (George Gordon Byron, 6th Baron Byron) ต่อมาในปี ค.ศ. 1807 เอลิซาเบธก็เดินทางไป[[สวิตเซอร์แลนด์]]และได้เข้าเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ของ[[สมาคมเพื่อความก้าวหน้าของวิจิตรศิลป์]] (Société pour l'Avancement des Beaux-Arts” แห่ง[[เจนีวา]]
เอลีซาแบ็ตได้รับการต้อนรับกลับฝรั่งเศสระหว่างรัชสมัยของ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]] งานของเอลีซาแบ็ตเป็นที่ต้องการกันในหมู่ชนชั้นสูงไปทั่วยุโรป เอลีซาแบ็ตเดินทางไป[[อังกฤษ]]เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 และได้เขียนภาพเหมือนของขุนนางหลายคนรวมทั้ง[[จอร์จ กอร์ดอน ไบรอน บารอนไบรอนที่ 6]] (George Gordon Byron, 6th Baron Byron) ต่อมาในปี ค.ศ. 1807 เอลีซาแบ็ตก็เดินทางไป[[สวิตเซอร์แลนด์]]และได้เข้าเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ของ[[สมาคมเพื่อความก้าวหน้าของวิจิตรศิลป์]] (Société pour l'Avancement des Beaux-Arts” แห่ง[[เจนีวา]]


[[ไฟล์:Lebrun, Self-portrait.jpg|thumb|left|“ภาพเหมือนตนเอง” เขียนใน[[ฟลอเรนซ์]] ค.ศ. 1790]]
[[ไฟล์:Lebrun, Self-portrait.jpg|thumb|left|“ภาพเหมือนตนเอง” เขียนใน[[ฟลอเรนซ์]] ค.ศ. 1790]]
เอลิซาเบธพิมพ์บันทึกความทรงจำในปี ค.ศ. 1835 และปี ค.ศ. 1837 ซึ่งเป็นที่น่าสนใจตรงที่ทำให้เห็นภาพพจน์ของการศึกษาของจิตรกรในปลายสมัยของจิตรกรรมที่มีอิทธิมาจากราชสถาบัน
เอลีซาแบ็ตพิมพ์บันทึกความทรงจำในปี ค.ศ. 1835 และปี ค.ศ. 1837 ซึ่งเป็นที่น่าสนใจตรงที่ทำให้เห็นภาพพจน์ของการศึกษาของจิตรกรในปลายสมัยของจิตรกรรมที่มีอิทธิมาจากราชสถาบัน


เอลิซาเบธยังคงเขียนภาพจนอายุอยู่ในวัยห้าสิบ เอลิซาเบธซื้อบ้านที่ Louveciennes ใน[[แคว้นอีล-เดอ-ฟรองซ์]] และพำนักอยู่ที่นั่นจนถูกยึดโดยทหารของ[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]] ระหว่าง[[สงครามนโปเลียน]] ในปี ค.ศ. 1814 เอลิซาเบธพำนักอยู่ในปารีสจนเสียชีวิตเมื่อวันที่ [[30 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1842]] ร่างของเอลิซาเบธถูกนำกลับไปฝังที่ Louveciennes บนหินบนหลุมศพมีคำจารึก “Ici, enfin, je repose…”
เอลีซาแบ็ตยังคงเขียนภาพจนอายุอยู่ในวัยห้าสิบ เอลีซาแบ็ตซื้อบ้านที่ลูฟว์เซียน (Louveciennes) ใน[[แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์]] และพำนักอยู่ที่นั่นจนถูกยึดโดยทหารของ[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]] ระหว่าง[[สงครามนโปเลียน]] ในปี ค.ศ. 1814 เอลีซาแบ็ตพำนักอยู่ในปารีสจนเสียชีวิตเมื่อวันที่ [[30 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1842]] ร่างของเอลีซาแบ็ตถูกนำกลับไปฝังที่ลูฟว์เซียนบนหินบนหลุมศพมีคำจารึก “Ici, enfin, je repose…”


เอลิซาเบธเขียนภาพเหมือนด้วยกันทั้งหมด 660 ภาพและภาพภูมิทัศน์อีก 200 ภาพ ภาพของเอลิซาเบธตั้งแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงทั่วโลกรวมทั้ง[[พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ]]และ[[หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)]] ในยุโรปและอีกหลายพิพิธภัณฑ์ในสหรัฐอเมริกา
เอลีซาแบ็ตเขียนภาพเหมือนด้วยกันทั้งหมด 660 ภาพและภาพภูมิทัศน์อีก 200 ภาพ ภาพของเอลีซาแบ็ตตั้งแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงทั่วโลกรวมทั้ง[[พิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ]]และ[[หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)]] ในยุโรปและอีกหลายพิพิธภัณฑ์ในสหรัฐอเมริกา


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 70: บรรทัด 70:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat-inline|Elisabeth Vigée-Lebrun|เอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริง}}
{{Commonscat-inline|Elisabeth Vigée-Lebrun|เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง}}
* ชีวะประวัติของเอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริงที่ [http://www.wga.hu/bio/v/vigee/biograph.html พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ]
* ชีวะประวัติของเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงที่ [http://www.wga.hu/bio/v/vigee/biograph.html พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ]
* ภาพเขียนของเอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริงที่ [http://www.wga.hu/html/v/vigee/index.html พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ]
* ภาพเขียนของเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงที่ [http://www.wga.hu/html/v/vigee/index.html พิพิธภัณฑ์ศิลปะเว็บ]
* [http://www.batguano.com/Vigee.html ระเบียงภาพของเอลิซาเบธ-หลุยส์ วิฌี-เลอเบริงรวมทั้งบทความ, บันทึกความทรงจำและชีวประวัติ]
* [http://www.batguano.com/Vigee.html ระเบียงภาพของเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงรวมทั้งบทความ, บันทึกความทรงจำและชีวประวัติ]
* [http://digital.library.upenn.edu/women/lebrun/memoirs/memoirs.html “บันทึกความทรงจำของมาดามวิฌี-เลอเบริง” แปลโดย ไลโอเนล สตราชีย์]
* [http://digital.library.upenn.edu/women/lebrun/memoirs/memoirs.html “บันทึกความทรงจำของมาดามวีเฌ-เลอเบริง” แปลโดย ไลโอเนล สตราชีย์]


== สมุดภาพ ==
== สมุดภาพ ==
บรรทัด 93: บรรทัด 93:


{{จิตรกรตะวันตก}}
{{จิตรกรตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|วิฌี-เลอเบริง}}
{{เรียงลำดับ|วีเฌ-เลอเบริง}}


{{birth|1755}}
{{birth|1755}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:49, 3 ตุลาคม 2553

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง (ฝรั่งเศส: Élisabeth-Louise Vigée-Le Brun) หรือ มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ (Marie Élisabeth-Louise Vigée; 16 เมษายน ค.ศ. 1755 - 30 มีนาคม ค.ศ. 1842) เป็นจิตรกรสมัยโรโคโคชาวฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนจิตรกรรมภาพเหมือน เอลีซาแบ็ตแสดงความสนใจในศิลปะฟื้นฟูคลาสสิกแต่ไม่ได้จัดอยู่ในจิตรกรกลุ่มนี้เพราะความสนใจของเอลีซาแบ็ตจำกัดอยู่แต่เพียงการแต่งตัวของแบบที่เขียนให้เป็นคลาสสิก มิใช่ความสนใจในการสร้างจิตรกรรมประวัติศาสตร์แบบคลาสสิก

ชีวิตเบื้องต้น

เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริงเกิดเมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ. 1755 ที่เมืองปารีสในประเทศฝรั่งเศส โดยมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า มารี เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ ลูกสาวของจิตรกรภาพเหมือนและภาพบนพัด หลุยส์ วีเฌ ผู้ที่เอลีซาแบ็ตได้รับการศึกษาทางศิลปะเมื่อเริ่มแรก มารดาของเอลีซาแบ็ตเป็นช่างแต่งผม[1] เอลีซาแบ็ตถูกส่งไปอยู่กับญาติในเอเปร์นอง (Epernon) จนอายุ 6 ปีเมื่อเอลีซาแบ็ตเข้าคอนแวนต์และอยู่ที่นั่นอีก 5 ปี พ่อของเอลีซาแบ็ตเสียชีวิตเมื่อเอลีซาแบ็ตอายุได้ 12 ปี ในปี ค.ศ. 1768 แม่ของเอลีซาแบ็ตแต่งงานกับช่างอัญมณี, ฌาคส์ ฟรองซัวส์ เลอ เซเวร์ หลังจากนั้นครอบครัวก็ย้ายไปถนนแซงต์โอเนอร์ไม่ไกลจากพระราชวังหลวงแห่งปารีส (Palais Royal) ระหว่างนี้เอลีซาแบ็ตก็ได้รับการศึกษาแนะนำจากกาเบรียล ฟร็องซัว ดัวย็อง (Gabriel François Doyen), ฌ็อง-บาติสต์ เกริซ (Jean-Baptiste Greuze) และโฌแซ็ฟ แวร์แน (Joseph Vernet) และจิตรกรสำคัญคนอื่น ๆ ในยุคนั้น

เมื่ออยู่ในวัยรุ่น เอลีซาแบ็ตก็เริ่มเขียนภาพเหมือนเป็นอาชีพ หลังจากห้องเขียนภาพถูกปิดเพราะไม่มีใบอนุญาต เอลีซาแบ็ตก็สมัครเป็นสมาชิกของสถาบันเซนต์ลูคที่ไม่เต็มใจแสดงภาพเขียนของเอลีซาแบ็ตในห้องแสดงภาพของสถาบัน แต่เอลีซาแบ็ตก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1774

มารี อองตัวเนต

“ภาพเหมือนของมารี อองตัวเนต”, ค.ศ. 1783 ที่บ่งว่าเขียนโดยเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1775 เอลีซาแบ็ตแต่งงานกับฌ็อง-บาติสต์-ปีแยร์ เลอเบริง จิตรกรและผู้ค้าขายศิลปะ เอลีซาแบ็ตเขียนภาพเหมือนของเจ้านายคนสำคัญ ๆ ของสมัยนั้นหลายพระองค์และเมื่อมีชื่อเสียงมากขึ้น เอลีซาแบ็ตก็ได้รับเชิญจากสำนักพระราชวังแวร์ซายส์ให้เขียนภาพมารี อองตัวเนต สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส

มารี อองตัวเนตทรงพอพระทัยในฝีมือจนทรงให้เอลีซาแบ็ตเขียนภาพเหมือนของพระองค์และพระราชโอรสธิดาของพระองค์และพระญาติพระวงศ์ต่อมาอีกหลายปี เอลีซาแบ็ตคลอดลูกสาวเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1780 ชื่อฌานน์ ฌูลี หลุยส์ ผู้ที่เอลีซาแบ็ตเรียกว่า “ฌูลี”

“ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ เดอ คาลอง” โดยเอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

ในปี ค.ศ. 1781 เอลีซาแบ็ตและสามีก็ไปเดินทางไปเที่ยวบริเวณฟลานเดอร์สและเนเธอร์แลนด์ที่เอลีซาแบ็ตได้เห็นงานเขียนต่าง ๆ ของจิตรกรเฟล็มมิชคนสำคัญ ๆ ที่ทำให้ได้รับแรงบันดาลใจในการทดลองการเขียนวิธีใหม่ ระหว่างการเดินทางเอลีซาแบ็ตก็มีโอกาสเขียนภาพเหมือนของเจ้านายที่นั่นรวมทั้งเจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์

เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1783 เอลีซาแบ็ตก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกของ “ราชสถาบันแห่งจิตรกรรมและประติมากรรม” ในฐานะจิตรกรภาพอุปมานิทัศน์ประวัติศาสตร์ อาเดลาอีด ลาบีย์-กียาร์ (Adélaïde Labille-Guiard) ก็ได้รับเข้าเป็นสมาชิกในวันเดียวกัน

การยอมรับของเอลีซาแบ็ตเข้าเป็นสมาชิกได้รับการต่อต้านเพราะสามีเป็นผู้ค้าศิลปะ แต่ในที่สุดมติของสมาคมก็ถูกเปลี่ยนโดยพระราชโองการของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 โดยมีมารี อองตัวเนตหนุนหลังพระสวามีในนามของเอลีซาแบ็ต การยอมรับสตรีสองคนเข้าเป็นสมาชิกของสถาบันในวันเดียวกันเป็นการเปรียบเทียบงานของสตรีสองคนแทนที่จะเปรียบคุณค่าของงานของเอลีซาแบ็ตกับงานของสมาชิกของสมาคมที่มีอยู่แล้วซึ่งเป็นผู้ชายทั้งหมด

ในปี ค.ศ. 1789 อเล็กซานเดอร์ คูชาสกี (Alexander Kucharsky) ก็ได้เป็นช่างเขียนประจำราชสำนักต่อจากเอลีซาแบ็ต

การปฏิวัติฝรั่งเศส

หลังจากที่พระราชวงศ์ถูกจับระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส เอลีซาแบ็ตก็หลบหนีจากฝรั่งเศสกับลูกสาว เอลีซาแบ็ตไปทำงานอยู่ในอิตาลี ออสเตรีย และรัสเซีย ในกรุงโรม ภาพเขียนของเอลีซาแบ็ตได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง และทำให้เอลีซาแบ็ตได้รับเข้าเป็นสมาชิกของสถาบันเซนต์ลูคแห่งโรม

ในรัสเซียเอลีซาแบ็ตเข้าเขียนภาพในราชสำนักของพระจักรพรรดินีนาถแคทเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย ขณะที่พำนักอยู่ที่นั่นเอลีซาแบ็ตก็ได้เข้าเป็นสมาชิกของ “สถาบันวิจิตรศิลป์แห่งเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก” ส่วนฌูจีแต่งงานกับขุนนางรัสเซีย[1]

เอลีซาแบ็ตได้รับการต้อนรับกลับฝรั่งเศสระหว่างรัชสมัยของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 งานของเอลีซาแบ็ตเป็นที่ต้องการกันในหมู่ชนชั้นสูงไปทั่วยุโรป เอลีซาแบ็ตเดินทางไปอังกฤษเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 และได้เขียนภาพเหมือนของขุนนางหลายคนรวมทั้งจอร์จ กอร์ดอน ไบรอน บารอนไบรอนที่ 6 (George Gordon Byron, 6th Baron Byron) ต่อมาในปี ค.ศ. 1807 เอลีซาแบ็ตก็เดินทางไปสวิตเซอร์แลนด์และได้เข้าเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ของสมาคมเพื่อความก้าวหน้าของวิจิตรศิลป์ (Société pour l'Avancement des Beaux-Arts” แห่งเจนีวา

“ภาพเหมือนตนเอง” เขียนในฟลอเรนซ์ ค.ศ. 1790

เอลีซาแบ็ตพิมพ์บันทึกความทรงจำในปี ค.ศ. 1835 และปี ค.ศ. 1837 ซึ่งเป็นที่น่าสนใจตรงที่ทำให้เห็นภาพพจน์ของการศึกษาของจิตรกรในปลายสมัยของจิตรกรรมที่มีอิทธิมาจากราชสถาบัน

เอลีซาแบ็ตยังคงเขียนภาพจนอายุอยู่ในวัยห้าสิบ เอลีซาแบ็ตซื้อบ้านที่ลูฟว์เซียน (Louveciennes) ในแคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ และพำนักอยู่ที่นั่นจนถูกยึดโดยทหารของปรัสเซีย ระหว่างสงครามนโปเลียน ในปี ค.ศ. 1814 เอลีซาแบ็ตพำนักอยู่ในปารีสจนเสียชีวิตเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1842 ร่างของเอลีซาแบ็ตถูกนำกลับไปฝังที่ลูฟว์เซียนบนหินบนหลุมศพมีคำจารึก “Ici, enfin, je repose…”

เอลีซาแบ็ตเขียนภาพเหมือนด้วยกันทั้งหมด 660 ภาพและภาพภูมิทัศน์อีก 200 ภาพ ภาพของเอลีซาแบ็ตตั้งแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงทั่วโลกรวมทั้งพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจและหอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน) ในยุโรปและอีกหลายพิพิธภัณฑ์ในสหรัฐอเมริกา

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 CyberPathways Art World
  • Lebrun, “Souvenirs”, ปารีส, ค.ศ. 1835-ค.ศ. 1837 (translated by Lionel Strachey, New York, 1903).
  • Italian Wikipedia
  • CyberPathways Art World

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เอลีซาแบ็ต-หลุยส์ วีเฌ-เลอเบริง

สมุดภาพ