ข้ามไปเนื้อหา

พระจันทรประภาโพธิสัตว์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระจันทรประภาโพธิสัตว์
เทวรูปพระจันทรประภาโพธิสัตว์ ศิลปะแบบประเพณีจีนในปัจจุบัน ณ หอพระในสวนสาธารณะเทียนถาน ซัวเถา ประเทศจีน
สันสกฤตचन्द्रप्रभ
Candraprabha
จีน月光菩薩
(Pinyin: Yuèguāng Púsà)
月光遍照菩薩
(Pinyin: Yuèguāng Biànzhào Púsà) )
月光普照菩薩
(Pinyin:
Yuèguāng Pǔzhào Púsà)
月净菩薩
(Pinyin:
Yuèyào Púsà
ญี่ปุ่น月光菩薩がっこう/げっこうぼさつ
(romaji: Gakkō Bosatsu or Gekkō Bosatsu)
月光遍照菩薩がっこうへんじょうぼさつ
(romaji: Gakkō Henjō Bosatsu)
月光王菩薩がっこうおうぼさつ
(romaji: Gakkō Ō Bosatsu)
月浄菩薩がつじょうぼさつ
(romaji: Getsujō Bosatsu)
เขมรចន្ទ្រប្រភា
(chan-pra-phiea)
เกาหลี월광보살
(RR: Wolgwang Bosal)
월광변조보살
(RR: Wolgwang Byeonjo Bosal)
월정보살
(RR: Woljaeng Bosal)
ไทยพระจันทรประภาโพธิสัตว์
ทิเบตཟླ་འོད་
Wylie: zla 'od
THL: da ö
เวียดนามNguyệt Quang Bồ Tát
ข้อมูล
นับถือในมหายาน, วัชรยาน
พระลักษณะทรงสัญญาลักษณ์ดวงจันทร์ในหัตถ์
ศักติพระเทวี
icon สถานีย่อยพระพุทธศาสนา

จันทรประภา (แปลว่า 'แสงสว่างแห่งพระจันทร์', Chinese: 月光菩薩; pinyin: Yuèguāng Púsà; โรมาจิ: Gakkō หรือ Gekkō Bosatsu) คือพระโพธิสัตว์ในคติพระพุทธศาสนาแบบมหายานและมหายาน เป็นพระโพธิสัตว์อันทรงทรงคุณดังผู้รักษาพระจันทร์ โดยทั่วไปพระองค์ได้รับการนับถือว่าเป็นพระอัครสาวกของพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้าคู่กับพระสุริยประภาโพธิสัตว์ พระองค์มักปรากฏพร้อมด้วยพระไภษัชยคุรุพุทธเจ้าและพระสุริยประภาโพธิสัตว์ตามคติการบูชาแบบตรีเทพตามคติตรีเอกานุภาพ[1] และพระองค์ได้รับการนับถือว่าเป็นหนึ่งในเทพยดาผู้รักษาพระจันทร์และเป็นประธานในพิธีไหว้พระจันทร์ของเทศกาลไหว้พระจันทร์ของชาวพุทธในเอเชียตะวันออก[2][3]

เทวรูปพระจันทรประภาโพธิสัตว์ ศิลปะยุคนาระ วัดโทไดจิ เมืองนาระ ประเทศญี่ปุ่น

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 燉煌三藏譯. 佛說決定毘尼經. 大正藏 (寶積部、涅槃部). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-09. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22. 爾時,世尊如龍王視觀察大眾,觀大眾已,告諸菩薩:「仁者!誰能於後惡世,堪忍護持正法,以諸方便成就眾生?」[...]月光菩薩言:「我能堪忍令諸眾生常行給事。」
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-09-09. สืบค้นเมื่อ 2022-09-09.
  3. https://www.wisdomlib.org/definition/candraprabha