ข้ามไปเนื้อหา

ซีชาง

พิกัด: 27°53′40″N 102°15′52″E / 27.89444°N 102.26444°E / 27.89444; 102.26444
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซีชาง

西昌市 · ꀒꎂꏃ
ทะเลสาบฉฺยงไห่ (邛海)
ทะเลสาบฉฺยงไห่ (邛海)
ที่ตั้งของนครซีชาง (สีแดง) ภายในจังหวัดเหลียงชาน (สีเหลือง) และมณฑลเสฉวน
ที่ตั้งของนครซีชาง (สีแดง) ภายในจังหวัดเหลียงชาน (สีเหลือง) และมณฑลเสฉวน
ซีชางตั้งอยู่ในมณฑลเสฉวน
ซีชาง
ซีชาง
ที่ตั้งในมณฑลเสฉวน
พิกัด: 27°53′40″N 102°15′52″E / 27.89444°N 102.26444°E / 27.89444; 102.26444
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
มณฑลเสฉวน
จังหวัดเหลียงชาน
ที่ตั้งที่ว่าการแขวงเป่ย์เฉิง (北城街道)
พื้นที่
 • ทั้งหมด2,655 ตร.กม. (1,025 ตร.ไมล์)
ความสูง1,542 เมตร (5,059 ฟุต)
ประชากร
 (2012)
 • ทั้งหมด481,796 คน
 • ความหนาแน่น180 คน/ตร.กม. (470 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+8 (มาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์615000
รหัสพื้นที่0834
ซีชาง
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน西昌
ความหมายตามตัวอักษรความเจริญรุ่งเรืองทางทิศตะวันตก
ชื่อภาษาอี๋
ภาษาอี๋ꀒꎂ
อักษรโรมัน: Op Rro
ชื่อเดิม
เจี้ยนตู
ภาษาจีน建都
ความหมายตามตัวอักษรสถาปนาเมืองหลวง
เจี้ยนชาง
ภาษาจีน建昌
ความหมายตามตัวอักษรสถาปนาความเจริญรุ่งเรือง

ซีชาง เดิมเรียกว่า เจี้ยนตู และ เจี้ยนชาง เป็นเมืองหลวงของจังหวัดปกครองตนเองชนชาติอี๋ เหลียงชาน ตอนใต้ของมณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี 2012 ซีชางมีประชากร 481,796 คน[ต้องการอ้างอิง]

ภูมิศาสตร์

[แก้]
ซีชาง (ในแผนที่เขียนว่า HSI-CH'ANG (NING-YÜAN) 西昌 (寧遠)) (1954)

ซีชางตั้งอยู่ในพื้นที่ภูเขาทางตอนใต้ของมณฑลเสฉวน เมืองนี้ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองพันจือฮวา ซีชางมีแม่น้ำอันหนิงเป็นแม่น้ำสายหลักในพื้นที่ ซึ่งเป็นธารสาขาของแม่น้ำหย่าหลง แม่น้ำจินชา และแม่น้ำแยงซี ซีชางตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบฉฺยง

ภูมิอากาศ

[แก้]

การขนส่ง

[แก้]

สถานีรถไฟซีชาง (西昌站) เป็นสถานีหลักบนทางรถไฟเฉิงตู–คุนหมิง หลังจากรถไฟสายด่วนก่อสร้างแล้วเสร็จ ก็ทำให้ลดระยะเวลาการเดินทางไปยังพันจือฮวา เฉิงตู และกว่างหยวนลงอย่างมาก นอกจากนี้ยังมีสถานีอื่น ๆ ได้แก่ สถานีรถไฟซีชางเหนือ และสถานีรถไฟซีชางใต้

เมืองนี้มีสนามบินของตนเองคือ ท่าอากาศยานซีชางชิงชาน ซึ่งเชื่อมต่อกับท่าอวกาศยานโดยทางรถไฟและทางด่วนโดยตรง

ทางด่วนที่ผ่านเมืองซีชาง คือ ทางด่วนปักกิ่ง–คุนหมิง (ทางด่วน G5)

ท่าอวกาศยาน

[แก้]

ศูนย์ส่งดาวเทียมซีชางอยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 64 กิโลเมตร (40 ไมล์) ซึ่งเปิดดำเนินการในปี 1984

อ้างอิง

[แก้]
  1. 中国气象数据网 - WeatherBk Data (ภาษาChinese (China)). China Meteorological Administration. สืบค้นเมื่อ 2020-04-15.
  2. 中国地面国际交换站气候标准值月值数据集(1971-2000年). China Meteorological Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-21. สืบค้นเมื่อ 2010-05-25.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]