ข้ามไปเนื้อหา

ซาไกมินาโตะ

พิกัด: 35°32′N 133°14′E / 35.533°N 133.233°E / 35.533; 133.233
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซาไกมินาโตะ

境港市
ย่านไทโช ทางหลวงจังหวัดทตโตริและชิมาเนะหมายเลข 2 สายซาไกมิโฮะเซกิ
ย่านไทโช ทางหลวงจังหวัดทตโตริและชิมาเนะหมายเลข 2 สายซาไกมิโฮะเซกิ
ธงของซาไกมินาโตะ
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของซาไกมินาโตะ
ตรา
ที่ตั้งของซาไกมินาโตะในจังหวัดทตโตริ
ที่ตั้งของซาไกมินาโตะในจังหวัดทตโตริ
ซาไกมินาโตะตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
ซาไกมินาโตะ
ซาไกมินาโตะ
ที่ตั้งในประเทศญี่ปุ่น
พิกัด: 35°32′N 133°14′E / 35.533°N 133.233°E / 35.533; 133.233
ประเทศญี่ปุ่น
ภูมิภาคชูโงกุ (ซันอิง)
จังหวัดทตโตริ
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีคัตสึจิ นากามูระ
พื้นที่
 • ทั้งหมด29.02 ตร.กม. (11.20 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (1 มิถุนายน ค.ศ. 2016)
 • ทั้งหมด33,888 คน
 • ความหนาแน่น1,200 คน/ตร.กม. (3,000 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+09:00 (เวลามาตรฐานญี่ปุ่น)
ที่อยู่ศาลาว่าการ3000, Agarimichichō, Sakaiminato-shi, Tottori-ken
684-8501
เว็บไซต์www.city.sakaiminato.lg.jp
สัญลักษณ์
ดอกไม้เบญจมาศ
ต้นไม้สนดำญี่ปุ่น

ซาไกมินาโตะ (ญี่ปุ่น: 境港市โรมาจิSakaiminato-shi) เป็นนครในจังหวัดทตโตริ ประเทศญี่ปุ่น[1]

ประวัติ

[แก้]

พระราชกฤษฎีกาในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1899 จัดให้เมืองซาไกเป็นท่าเปิดสำหรับการค้าให้กับสหรัฐและสหราชอาณาจักร[2]

เศรษฐกิจ

[แก้]

ท่าเรือเดินทะเลของซาไกมินาโตะมีประวัติยาวนานในฐานะท่าเรือเดินทะเลของภูมิภาคซันอิง หลังสงครามโลกครั้งที่สอง นครนี้ทำหน้าที่เป็นฐานอุตสาหกรรมการประมงของญี่ปุ่นตะวันตกทั้งหมด ทำให้การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากทะเลกลายเป็นอุตสาหกรรมหลักในนครนี้[3]

เมืองพี่น้อง

[แก้]

ซาไกมินาโตะเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ชื่อเมืองมาจากอักษรคันจิสองตัว โดยอักษรแรก หมายถึง "ชายแดน" และอักษรที่สอง หมายถึง "ท่าเรือ"
  2. US Department of State. (1906). A digest of international law as embodied in diplomatic discussions, treaties and other international agreements (John Bassett Moore, ed.), Vol. 5, p. 759.
  3. "Kurayoshi Plain". Encyclopedia of Japan. Tokyo: Shogakukan. 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-25. สืบค้นเมื่อ 2012-04-12.
  4. "境港市の友好都市". city.sakaiminato.lg.jp (ภาษาญี่ปุ่น). Sakaiminato. สืบค้นเมื่อ 2020-11-12.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]