จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ความรักความชอบความถนัด
| ผู้ใช้คนนี้รักการอ่านและสนใจหนังสือ ทุกประเภท |
---|
|
ความสนใจตามระบบทศนิยมดิวอี้
570 | ตามระบบดิวอี้ ผู้ใช้คนนี้สนใจเรื่อง วิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต |
---|
|
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
|
ผู้ใช้คนนี้ ใช้ Celestia นอนดูดาวในท้องฟ้าจำลอง บนจอคอมพิวเตอร์
|
|
ภาษาคอมพิวเตอร์
| ผู้ใช้คนนี้สามารถเขียน HTML |
---|
|
ความคิดเห็น
| ผู้ใช้คนนี้คิดว่า ธ กับ th แตกต่างกันสิ้นเชิง และไม่ใช้ th ถอดเสียง ธ ในชื่อตัวเอง |
---|
|
เกี่ยวกับการใช้งานในวิกิพีเดีย
| ผู้ใช้คนนี้เชื่อว่า 1 บทความ ควรมีอย่างน้อย 1 รูป |
---|
| ผู้ใช้คนนี้ยินดีที่จะช่วยขัดเกลา และตรวจแก้รูปแบบการใช้ภาษาไทย |
---|
| ผู้ใช้คนนี้เชื่อว่า เนื้อหาทั้งหมด ในวิกิพีเดีย ต้องระบุ แหล่งอ้างอิง |
---|
|
'หวัดดีทุกท่าน...ขอเชิญเข้าสู่หน้าผู้ใช้ Voraprachw
ผู้ใช้คนนี้เข้ามาเป็นชาววิกิพีเดียเมื่อ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๙ (ปีนึงแล้วแต่ถึงกระนั้นบางครั้งก็ยังไม่รู้เรื่องรู้ราว ต้องถามคนอื่นอยู่(เรื่อย/ร่ำ)ไป)
ภาษาในยุโรป ,
ภาษาไทย ,
ประเทศ ,
ดนตรีคลาสสิกยุคโรแมนติก ,
ปีเตอร์ อิลยิช ไชคอฟสกี ,
โยฮันน์ ชเตราสส์ ที่ ๒ ,
ดนตรีเวียนนา ,
การทำอาหาร ,
ฟิสิกส์ ,
ดาราศาสตร์ ,
ชีววิทยา ,
ชีวเคมี ,
เคมี ,
หนังสือ(แอ๊ะแอ๊ะ!! ผมรู้นะว่ามี (ใคร/คน/คนที่คิดลึก/คนที่คิดครอบคลุมเกินไป)คิดว่าผมชอบจะกินหนังสือ!! ,
การแต่งซิมโฟนี ,
ดวงตราไปรษณียากรและการสะสม ,
วิกิพีเดีย ,
การแก้ไขคำที่เขียนผิด
(วิธี/รูปแบบ)ในการเขียน
[แก้]
- ๑. จะใช้ตัวเลขไทยเสมอ เพื่อแสดงออกถึงความเป็นไทย
- ๒. จะเรียกเครื่องหมายวรรคตอนแบบไทยเท่านั้น เพื่อแสดงออกถึงความเป็นไทย
- ๓. จะใช้อัศเจรีย์ ๒ ตัวติดกันขึ้นไป (!!) เสมอ เพื่อการสื่ออารมณ์ที่ชัดเจนและความสวยงาม
- ๔. จะใช้จุลภาค ๓ ตัวติดกันเสมอ เพื่อความสวยงาม
- ๕. หลังจากเครื่องหมายวรรคตอนจะเว้นวรรคทุกครั้ง(. ) เพื่อความสวยงาม รวมทั้งก่อนและหลังตัวเลข( ๑ )และนขลิขิต ( [] ) ด้วย
- ๖. กรุณาสังเกตเฉดสีของตัวอักษรที่มีสีแดง กับสีของลิงก์แดง อย่านำไปปนกัน และเพื่อป้องกันการสับสน Voraprachw จะไม่ใส่ลิงก์แดงลงไปในหน้าผู้ใช้ของตัวเอง ยกเว้นในกล่องผู้ใช้และการจัดหมวดหมู่ด้านล่างของบทความ ซึ่งมันแก้ไม่ได้
- ๗. ถ้าคุณ (พวกคุณ) เห็นอะไรประมาณนี้ : (?/?/?) นั่นคือกลุ่มคำวิเศษณ์[[1]]ที่สื่อความหมายได้เหมือนหรือใกล้เคียงกัน ซึ่ง up to คุณว่าจะเลือกคำไหนที่เข้าท่าสำหรับคุณ (ถ้าชอบวิธีการเขียนแบบนี้ก็เชิญนำไปใช้ได้เลย)